หน้าแรก บทความ การตีความใหม่เรื่องขอบเขตแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดี บนที่ราบภาคกลางตอนล่าง

การตีความใหม่เรื่องขอบเขตแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดี บนที่ราบภาคกลางตอนล่าง

การตีความใหม่เรื่องขอบเขตแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดี บนที่ราบภาคกลางตอนล่าง

ชื่อผู้แต่ง ตรงใจ หุตางกูร
วารสาร/นิตยสาร ดำรงวิชาการ
เดือน มกราคม
ปีที่ 13
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 11 - 44
ภาษา ภาษาไทย
หัวเรื่อง -

เนื้อหาโดยย่อ

      บทความนี้ วิเคราะห์หาพัฒนาการของภูมิศาสตร์พืชพรรณสมัยโฮโลซีนในพื้นที่ราบภาคกลางตอนล่าง โดยบูรณาการข้อมูลด้านธรณีสัณฐาน เรณูวิทยา และค่าเรดิโอคาร์บอน เพื่อกำหนดแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดี ผลการศึกษาพบว่า แนวชายฝั่งทะเลโบราณตลอดสมัยโฮโลซีน มีสภาพนิเวศแบบผืนป่าชายเลน เมื่อราว 8,400 ปีมาแล้วตามปีปฏิทิน เกิดกรากฏการณ์การรุกเข้าสูงสุดของน้ำทะเลสมัยโฮโลซีน ทำให้น้ำทะเลขึ้นมาถึงพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ต่อไปถึง จ.อ่างทอง ต่อมาเมื่อเกิดการถอถอยของน้ำทะเลสมัยโฮโลซีนตั้งแต่ราว 7,000 ปีมาแล้วตามปีปฏิทิน ทำให้แนวชายฝั่งทะเลสมัยทวารวดี มีผืนป่าชายเลนอยู่ในพื้นที่ตอนใต้ของกรุงเทพมหานคร และพื้นที่ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 

      ดังนั้นแนวชายฝั่งทะเลร่วมสมัยทวารวดี จึงมีขอบเขตไม่อยู่เหนือไปกว่าพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นไปไม่ได้ที่น้ำทะเลจะขึ้นไปประชิดถึงที่ตั้งเมืองสำคัญของทวารวดี อาทิ อู่ทอง หรือ เมืองนครปฐมโบราณ

หลักฐานสำคัญ

ธรณีสัณฐาน และเรณูวิทยา

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

ยุคสมัย

1 4 9

จำนวนผู้เข้าชม

870

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

17 พ.ย. 2565

การตีความใหม่เรื่องขอบเขตแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดี บนที่ราบภาคกลางตอนล่าง

  • การตีความใหม่เรื่องขอบเขตแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดี บนที่ราบภาคกลางตอนล่าง
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ตรงใจ หุตางกูร

    ชื่อบทความ :
    การตีความใหม่เรื่องขอบเขตแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดี บนที่ราบภาคกลางตอนล่าง

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    ดำรงวิชาการ

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม

    ปีที่ :
    13

    ฉบับที่ :
    1

    หน้าที่ :
    11 - 44

    ภาษา :
    ภาษาไทย

    หัวเรื่อง :
    -

    เนื้อหาโดยย่อ

          บทความนี้ วิเคราะห์หาพัฒนาการของภูมิศาสตร์พืชพรรณสมัยโฮโลซีนในพื้นที่ราบภาคกลางตอนล่าง โดยบูรณาการข้อมูลด้านธรณีสัณฐาน เรณูวิทยา และค่าเรดิโอคาร์บอน เพื่อกำหนดแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดี ผลการศึกษาพบว่า แนวชายฝั่งทะเลโบราณตลอดสมัยโฮโลซีน มีสภาพนิเวศแบบผืนป่าชายเลน เมื่อราว 8,400 ปีมาแล้วตามปีปฏิทิน เกิดกรากฏการณ์การรุกเข้าสูงสุดของน้ำทะเลสมัยโฮโลซีน ทำให้น้ำทะเลขึ้นมาถึงพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ต่อไปถึง จ.อ่างทอง ต่อมาเมื่อเกิดการถอถอยของน้ำทะเลสมัยโฮโลซีนตั้งแต่ราว 7,000 ปีมาแล้วตามปีปฏิทิน ทำให้แนวชายฝั่งทะเลสมัยทวารวดี มีผืนป่าชายเลนอยู่ในพื้นที่ตอนใต้ของกรุงเทพมหานคร และพื้นที่ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 

          ดังนั้นแนวชายฝั่งทะเลร่วมสมัยทวารวดี จึงมีขอบเขตไม่อยู่เหนือไปกว่าพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นไปไม่ได้ที่น้ำทะเลจะขึ้นไปประชิดถึงที่ตั้งเมืองสำคัญของทวารวดี อาทิ อู่ทอง หรือ เมืองนครปฐมโบราณ

    หลักฐานสำคัญ

    ธรณีสัณฐาน และเรณูวิทยา


    ห้องสมุดแนะนำ :
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    1 4 9

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 17 พ.ย. 2565
    จำนวนผู้เข้าชม : 870