หน้าแรก บทความ มรดกพุทธศิลป์ทวารวดี: การแสดงออกทางศิลปะและวัฒนธรรมในยุคโบราณ

มรดกพุทธศิลป์ทวารวดี: การแสดงออกทางศิลปะและวัฒนธรรมในยุคโบราณ

มรดกพุทธศิลป์ทวารวดี: การแสดงออกทางศิลปะและวัฒนธรรมในยุคโบราณ

ชื่อผู้แต่ง ศตวรรษ ชายทวีป
วารสาร/นิตยสาร นวพุทธศาสตร์
เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม
ปี 2024
ปีที่ 3
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 32-45
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

บทความนี้ศึกษาความหมายคำว่า “ทวารวดี” ซึ่งมีรากศัพท์จากภาษาสันสกฤต “ทวารกะ” หมายถึง “ปากประตู” หรือ “ทางเข้า” เชื่อมโยงกับตำนานเมืองศักดิ์สิทธิ์ที่พระกฤษณะทรงสร้างขึ้นในแคว้นคุชราต คำนี้ถูกนำมาใช้โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ในการกำหนดอายุโบราณวัตถุและโบราณสถานสมัยศิลปะคุปตะ หลังคุปตะ และปาละ-เสนะ นอกจากนี้ยังวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-9 ชุมชนในลุ่มน้ำป่าสักและลุ่มน้ำเลยมีการติดต่อค้าขายกับพ่อค้าต่างชาติ ส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมผ่านเส้นทางคมนาคมโบราณ หลักฐานสำคัญที่แสดงถึงการแลกเปลี่ยนนี้ ได้แก่ ลูกปัด เครื่องถ้วย และใบเสมาหินแบบทวารวดีที่มีความเชื่อมโยงกับศิลปกรรมในภูมิภาค นักวิชาการสันนิษฐานว่าใบเสมาหินนอกจากแสดงขอบเขตทางศาสนา มีคติความเชื่อทางศาสนาและการทำบุญ ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมดังกล่าวชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน รวมถึงลัทธิพราหมณ์ในสมัยนั้น สะท้อนผ่านโบราณวัตถุที่ค้นพบ การผสมผสานทางวัฒนธรรมนี้จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างอัตลักษณ์และมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ทวารวดี พระพุทธศาสนาในทวารวดี พุทธศิลป์

ยุคสมัย

ทวารวดี

จำนวนผู้เข้าชม

31

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

5 ม.ค. 2568

มรดกพุทธศิลป์ทวารวดี: การแสดงออกทางศิลปะและวัฒนธรรมในยุคโบราณ

  • มรดกพุทธศิลป์ทวารวดี: การแสดงออกทางศิลปะและวัฒนธรรมในยุคโบราณ
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ศตวรรษ ชายทวีป

    ชื่อบทความ :
    มรดกพุทธศิลป์ทวารวดี: การแสดงออกทางศิลปะและวัฒนธรรมในยุคโบราณ

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    นวพุทธศาสตร์

    เดือน
    เดือน :
    กรกฎาคม - ธันวาคม

    ปี :
    2024

    ปีที่ :
    3

    ฉบับที่ :
    2

    หน้าที่ :
    32-45

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความนี้ศึกษาความหมายคำว่า “ทวารวดี” ซึ่งมีรากศัพท์จากภาษาสันสกฤต “ทวารกะ” หมายถึง “ปากประตู” หรือ “ทางเข้า” เชื่อมโยงกับตำนานเมืองศักดิ์สิทธิ์ที่พระกฤษณะทรงสร้างขึ้นในแคว้นคุชราต คำนี้ถูกนำมาใช้โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ในการกำหนดอายุโบราณวัตถุและโบราณสถานสมัยศิลปะคุปตะ หลังคุปตะ และปาละ-เสนะ นอกจากนี้ยังวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-9 ชุมชนในลุ่มน้ำป่าสักและลุ่มน้ำเลยมีการติดต่อค้าขายกับพ่อค้าต่างชาติ ส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมผ่านเส้นทางคมนาคมโบราณ หลักฐานสำคัญที่แสดงถึงการแลกเปลี่ยนนี้ ได้แก่ ลูกปัด เครื่องถ้วย และใบเสมาหินแบบทวารวดีที่มีความเชื่อมโยงกับศิลปกรรมในภูมิภาค นักวิชาการสันนิษฐานว่าใบเสมาหินนอกจากแสดงขอบเขตทางศาสนา มีคติความเชื่อทางศาสนาและการทำบุญ ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมดังกล่าวชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน รวมถึงลัทธิพราหมณ์ในสมัยนั้น สะท้อนผ่านโบราณวัตถุที่ค้นพบ การผสมผสานทางวัฒนธรรมนี้จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างอัตลักษณ์และมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ทวารวดี

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ทวารวดี พระพุทธศาสนาในทวารวดี พุทธศิลป์

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 5 ม.ค. 2568
    จำนวนผู้เข้าชม : 31