หน้าแรก บทความ การสื่อสารมโนทัศน์เรื่อง “สุวรรณภูมิ” ผ่านงานจิตรกรรมในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA)

การสื่อสารมโนทัศน์เรื่อง “สุวรรณภูมิ” ผ่านงานจิตรกรรมในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA)

การสื่อสารมโนทัศน์เรื่อง “สุวรรณภูมิ” ผ่านงานจิตรกรรมในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA)

ชื่อผู้แต่ง สุวิชา สว่าง และ กฤษณ์ ทองเลิศ
วารสาร/นิตยสาร วารสารนิเทศศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยรังสิต
เดือน กันยายน - ธันวาคม
ปี 2565
ปีที่ 26
ฉบับที่ 3
หน้าที่ 169 - 181
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

1)วิธีการประกอบสร้างความหมายมโนทัศน์สุวรรณภูมิผ่านภาพจิตรกรรมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัยมีวิธีการดังนี้ ก)การสร้างสัมพันธบทกับวรรณกรรมเนื่องในศาสนาที่เกี่ยวเนื่องกับภาพจิตรกรรมที่สะท้อนมโนทัศน์สุวรรณภูมิ ข)การเข้ารหัสภาษาภาพจิตรกรรมผ่านสัญรูปภาพประติมาน 2)การเปลี่ยนความหมายผ่านสัญลักษณ์ภาพในงานจิตรกรรมไทยร่วมสมัยประกอบด้วย ก)การเปลี่ยนสัญรูปของภาพประติมานแบบอุดมคติในงานจิตรกรรมไทยประเพณีสู่การสร้างสัญรูปตามแบบสัจนิยมตะวันตก ข)การเปลี่ยนรูปแบบการใช้สีที่แบนเรียบในงานจิตรกรรมไทยประเพณีสู่การใช้สีเพื่อสร้างมิติภาพที่สมจริงตามหลักการเขียนภาพจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ค)การนำหลักการรื้อโครงสร้างการจัดองค์ประกอบภาพจิตรกรรมแบบประเพณีนิยม สู่การประกอบโครงสร้างใหม่ตามปัจเจกศิลปิน 3)ในแง่ของความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ งานศิลปะและมโนทัศน์สุวรรณภูมินั้นมีวิธีการที่สำคัญได้แก่ ก)พื้นที่ของพิพิธภัณฑ์มีความสอดคล้องกับบริบททางการสื่อสารงานศิลปะที่สะท้อนมโนทัศน์สุวรรณภูมิ ข)การออกแบบพื้นที่จัดแสดงงานมีความสอดคล้องกับวิธีการจัดลำดับทางการสื่อสารทางสัญลักษณ์ภาพด้วยความหมายโดยนัย ค)ความหมายจากการประกอบสร้างทางการสื่อสารระหว่างงานศิลปะ และพื้นที่ ก่อให้กลิ่นอายแห่งความจริงแท้เกี่ยวกับมโนทัศน์เรื่องสุวรรณภูมิ

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

จิตรกรรม ภาพสะท้อนสุวรรณภูมิ สุวรรณภุมิ

จำนวนผู้เข้าชม

88

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

26 ส.ค. 2567

การสื่อสารมโนทัศน์เรื่อง “สุวรรณภูมิ” ผ่านงานจิตรกรรมในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA)

  • การสื่อสารมโนทัศน์เรื่อง “สุวรรณภูมิ” ผ่านงานจิตรกรรมในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA)
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    สุวิชา สว่าง และ กฤษณ์ ทองเลิศ

    ชื่อบทความ :
    การสื่อสารมโนทัศน์เรื่อง “สุวรรณภูมิ” ผ่านงานจิตรกรรมในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA)

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารนิเทศศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยรังสิต

    เดือน
    เดือน :
    กันยายน - ธันวาคม

    ปี :
    2565

    ปีที่ :
    26

    ฉบับที่ :
    3

    หน้าที่ :
    169 - 181

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    1)วิธีการประกอบสร้างความหมายมโนทัศน์สุวรรณภูมิผ่านภาพจิตรกรรมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัยมีวิธีการดังนี้ ก)การสร้างสัมพันธบทกับวรรณกรรมเนื่องในศาสนาที่เกี่ยวเนื่องกับภาพจิตรกรรมที่สะท้อนมโนทัศน์สุวรรณภูมิ ข)การเข้ารหัสภาษาภาพจิตรกรรมผ่านสัญรูปภาพประติมาน 2)การเปลี่ยนความหมายผ่านสัญลักษณ์ภาพในงานจิตรกรรมไทยร่วมสมัยประกอบด้วย ก)การเปลี่ยนสัญรูปของภาพประติมานแบบอุดมคติในงานจิตรกรรมไทยประเพณีสู่การสร้างสัญรูปตามแบบสัจนิยมตะวันตก ข)การเปลี่ยนรูปแบบการใช้สีที่แบนเรียบในงานจิตรกรรมไทยประเพณีสู่การใช้สีเพื่อสร้างมิติภาพที่สมจริงตามหลักการเขียนภาพจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ค)การนำหลักการรื้อโครงสร้างการจัดองค์ประกอบภาพจิตรกรรมแบบประเพณีนิยม สู่การประกอบโครงสร้างใหม่ตามปัจเจกศิลปิน 3)ในแง่ของความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ งานศิลปะและมโนทัศน์สุวรรณภูมินั้นมีวิธีการที่สำคัญได้แก่ ก)พื้นที่ของพิพิธภัณฑ์มีความสอดคล้องกับบริบททางการสื่อสารงานศิลปะที่สะท้อนมโนทัศน์สุวรรณภูมิ ข)การออกแบบพื้นที่จัดแสดงงานมีความสอดคล้องกับวิธีการจัดลำดับทางการสื่อสารทางสัญลักษณ์ภาพด้วยความหมายโดยนัย ค)ความหมายจากการประกอบสร้างทางการสื่อสารระหว่างงานศิลปะ และพื้นที่ ก่อให้กลิ่นอายแห่งความจริงแท้เกี่ยวกับมโนทัศน์เรื่องสุวรรณภูมิ

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    จิตรกรรม ภาพสะท้อนสุวรรณภูมิ สุวรรณภุมิ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 26 ส.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 88