หน้าแรก บทความ พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ งานช่างชั้นสูงในราชสำนัก

พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ งานช่างชั้นสูงในราชสำนัก

พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ งานช่างชั้นสูงในราชสำนัก

ชื่อผู้แต่ง ศักดิ์ชัย สายสิงห์
วารสาร/นิตยสาร ดำรงวิชาการ
เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม
ปี 2564
ปีที่ 20
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 11-38
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

งานวิจัยนี้มีการศึกษาทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ เกี่ยวกับ พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ พบหลักฐานครั้งแรกในดินแดนไทยราวพุทธศตวรรษที่ 17 ซึ่งอยู่ในศิลปะเขมรในประเทศไทยสมัยนครวัด และสมัยหริภุญชัย และมาพบหลักฐานอีกครั้งหนึ่งในศิลปะล้านนาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 21 สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นตามคัมภีร์เรื่องชมพูบดีสูตร รูปแบบและคติการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องจากล้านนาได้ให้อิทธิพลมายังภาคกลางในช่วงสมัยอยุธยาตอนกลางและสืบต่อมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยเป็นการศึกษากรรมวิธีการสร้างพระพุทธรูป จากบันทึกและศึกษาขั้นตอนการหล่อพระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิแบบโบราณโดยช่างที่ยังสืบทอดวิธีการดังกล่าว มีวิธีการสำคัญ อาทิ การทำแม่พิมพ์ด้วยหินสบู่เพื่อกดลวดลายด้วยขี้ผึ้งลงบนแม่พิมพ์ เป็นต้น ความรู้อันทรงคุณค่านี้ ควรแก่การอนุรักษ์เป็นมรดกภูมิปัญญาช่างชั้นสูงในงานช่างไทย

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

พระพุทธรูป งานช่าง เทคนิคการสร้างพระพุทธรูป เขมร พระมหาจักรพรรดิ

จำนวนผู้เข้าชม

69

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

19 ส.ค. 2567

พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ งานช่างชั้นสูงในราชสำนัก

  • พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ งานช่างชั้นสูงในราชสำนัก
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ศักดิ์ชัย สายสิงห์

    ชื่อบทความ :
    พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ งานช่างชั้นสูงในราชสำนัก

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    ดำรงวิชาการ

    เดือน
    เดือน :
    กรกฎาคม - ธันวาคม

    ปี :
    2564

    ปีที่ :
    20

    ฉบับที่ :
    2

    หน้าที่ :
    11-38

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    งานวิจัยนี้มีการศึกษาทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ เกี่ยวกับ พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ พบหลักฐานครั้งแรกในดินแดนไทยราวพุทธศตวรรษที่ 17 ซึ่งอยู่ในศิลปะเขมรในประเทศไทยสมัยนครวัด และสมัยหริภุญชัย และมาพบหลักฐานอีกครั้งหนึ่งในศิลปะล้านนาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 21 สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นตามคัมภีร์เรื่องชมพูบดีสูตร รูปแบบและคติการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องจากล้านนาได้ให้อิทธิพลมายังภาคกลางในช่วงสมัยอยุธยาตอนกลางและสืบต่อมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยเป็นการศึกษากรรมวิธีการสร้างพระพุทธรูป จากบันทึกและศึกษาขั้นตอนการหล่อพระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิแบบโบราณโดยช่างที่ยังสืบทอดวิธีการดังกล่าว มีวิธีการสำคัญ อาทิ การทำแม่พิมพ์ด้วยหินสบู่เพื่อกดลวดลายด้วยขี้ผึ้งลงบนแม่พิมพ์ เป็นต้น ความรู้อันทรงคุณค่านี้ ควรแก่การอนุรักษ์เป็นมรดกภูมิปัญญาช่างชั้นสูงในงานช่างไทย

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    พระพุทธรูป งานช่าง เทคนิคการสร้างพระพุทธรูป เขมร พระมหาจักรพรรดิ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 19 ส.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 69