หน้าแรก บทความ การสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ปรางค์ปู่จ่า ตำบลนาเชิงคีรี อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

การสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ปรางค์ปู่จ่า ตำบลนาเชิงคีรี อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

การสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ปรางค์ปู่จ่า ตำบลนาเชิงคีรี อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

ชื่อผู้แต่ง อนัสพงษ์ ไกรเกรียงศรี
วารสาร/นิตยสาร วารสารวิชาการ AJNU ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร
เดือน กรกฎาคม-ธันวาคม
ปี 2561
ปีที่ 9
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 170-181
ภาษา ไทย
หัวเรื่อง ปรางค์ปู่จ่า สถาปัตยกรรมเขมร ศิลปะเขมรสมัยบาปวน ศิลปะเขมรสมัยบายน

เนื้อหาโดยย่อ

บทความนี้ มีจุดประสงค์เพื่อการสันนิษฐานรูปแบบที่สมบูรณ์ของตัวอาคารปรางค์ปู่จ่าก่อนพังทลาย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย
แบบบูรณาการทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การเปรียบเทียบรูปแบบทางศิลปะ รายงานการ
ขุดค้นทางโบราณคดี ร่วมกับการสำรวจรังวัดตัวโบราณสถานอย่างละเอียด สอบทวนระหว่างกัน และพิจารณาแนวทางในการ
สันนิษฐานรูปแบบของอาคารหลังนี้ จากกระบวนการดังกล่าว ทำให้ได้ข้อสรุปว่า ปรางค์ปู่จ่า ถูกสร้างขึ้นภายใต้อิทธิพลของ
ศิลปะเขมร โดยสามารถแบ่งพัฒนาการขององค์ปรางค์ ได้เป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 อยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 มีลักษณะเป็น
ปราสาทในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมสัมพันธ์กับปราสาท ในศิลปะเขมร สมัยบาปวน ระยะที่ 2 ในช่วงครึ่ง
หลังของพุทธศตวรรษที่ 17 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 18 มีการดัดแปลงตัวปราสาทในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยต่อมุขด้านหน้ายาว
ออกมา ทำให้ปราสาทในสมัยที่ 2 มีลักษณะคล้ายกับปราสาทกลุ่มอโรคยาศาล ในศิลปะเขมร สมัยบายน

หลักฐานสำคัญ

อาคารปรางค์ปู่จ่า ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การเปรียบเทียบรูปแบบทางศิลปะ รายงานการ
ขุดค้นทางโบราณคดี ร่วมกับการสำรวจรังวัดตัวโบราณสถานอย่างละเอียด สอบทวนระหว่างกัน และพิจารณาแนวทางในการ
สันนิษฐานรูปแบบของอาคารหลังนี้

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ศิลปะเขมร ศิลปะบาปวน ศิลปะบายน

ยุคสมัย

เขมรสมัยพระนคร

จำนวนผู้เข้าชม

58

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

9 ส.ค. 2567

การสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ปรางค์ปู่จ่า ตำบลนาเชิงคีรี อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

  • การสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ปรางค์ปู่จ่า ตำบลนาเชิงคีรี อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    อนัสพงษ์ ไกรเกรียงศรี

    ชื่อบทความ :
    การสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ปรางค์ปู่จ่า ตำบลนาเชิงคีรี อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารวิชาการ AJNU ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร

    เดือน
    เดือน :
    กรกฎาคม-ธันวาคม

    ปี :
    2561

    ปีที่ :
    9

    ฉบับที่ :
    2

    หน้าที่ :
    170-181

    ภาษา :
    ไทย

    หัวเรื่อง :
    ปรางค์ปู่จ่า สถาปัตยกรรมเขมร ศิลปะเขมรสมัยบาปวน ศิลปะเขมรสมัยบายน

    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความนี้ มีจุดประสงค์เพื่อการสันนิษฐานรูปแบบที่สมบูรณ์ของตัวอาคารปรางค์ปู่จ่าก่อนพังทลาย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย
    แบบบูรณาการทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การเปรียบเทียบรูปแบบทางศิลปะ รายงานการ
    ขุดค้นทางโบราณคดี ร่วมกับการสำรวจรังวัดตัวโบราณสถานอย่างละเอียด สอบทวนระหว่างกัน และพิจารณาแนวทางในการ
    สันนิษฐานรูปแบบของอาคารหลังนี้ จากกระบวนการดังกล่าว ทำให้ได้ข้อสรุปว่า ปรางค์ปู่จ่า ถูกสร้างขึ้นภายใต้อิทธิพลของ
    ศิลปะเขมร โดยสามารถแบ่งพัฒนาการขององค์ปรางค์ ได้เป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 อยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 มีลักษณะเป็น
    ปราสาทในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมสัมพันธ์กับปราสาท ในศิลปะเขมร สมัยบาปวน ระยะที่ 2 ในช่วงครึ่ง
    หลังของพุทธศตวรรษที่ 17 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 18 มีการดัดแปลงตัวปราสาทในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยต่อมุขด้านหน้ายาว
    ออกมา ทำให้ปราสาทในสมัยที่ 2 มีลักษณะคล้ายกับปราสาทกลุ่มอโรคยาศาล ในศิลปะเขมร สมัยบายน

    หลักฐานสำคัญ

    อาคารปรางค์ปู่จ่า ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การเปรียบเทียบรูปแบบทางศิลปะ รายงานการ
    ขุดค้นทางโบราณคดี ร่วมกับการสำรวจรังวัดตัวโบราณสถานอย่างละเอียด สอบทวนระหว่างกัน และพิจารณาแนวทางในการ
    สันนิษฐานรูปแบบของอาคารหลังนี้


    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    เขมรสมัยพระนคร

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ศิลปะเขมร ศิลปะบาปวน ศิลปะบายน

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 9 ส.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 58