หน้าแรก บทความ การศึกษาลูกปัดแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย

การศึกษาลูกปัดแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย

การศึกษาลูกปัดแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย

ชื่อผู้แต่ง ผุสดี รอดเจริญ และ ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล
วารสาร/นิตยสาร วารสารมนุษยวิทยา
เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม
ปี 2021
ปีที่ 4
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 143 - 285
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

บทความนำเสนอผลการศึกษาโบราณวัตถุประเภทลูกปัดแก้ว จำนวน 254 ตัวอย่าง ที่ได้จากการดำเนินโครงการ “การศึกษาลูกปัดแก้วที่พบจากแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย” ระหว่างปี 2560-2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะของลูกปัดแก้วทั้งทางกายภาพและทางเคมี นำข้อมูลที่ได้ไปจัดเก็บในฐานข้อมูล รวมทั้งนำไปศึกษาแปลความอธิบายภาพชีวิตของผู้คนในอดีตที่เกี่ยวข้องกับลูกปัดแก้ว ผลการศึกษาพบว่าความหลากหลายของลูกปัดแก้วเพิ่มสูงขึ้นตามช่วงเวลา คือแหล่งโบราณคดีที่มีอายุน้อยกว่า พบความหลากหลายของลูกปัดแก้วมากกว่า อาจแสดงถึงระดับความเข้มข้นหรือความนิยมในการใช้ลูกปัดแก้ว หรือความเข้มข้นของการติดต่อกับชุมชนห่างไกลที่เป็นแหล่งผลิตลูกปัดแก้ว ที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ตามยุคสมัย โดยตัวผลิตภัณฑ์ลูกปัดแก้วและการค้าขายหรือส่งต่อลูกปัดแก้วจากแหล่งผลิตที่อยู่ในต่างแดน เช่น เอเชียใต้ จีน ตะวันออกกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มายังพื้นที่ภาคกลางของไทยในปัจจุบันนั้น เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางสายแพรไหมทางทะเล ในช่วงสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายจนถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ทวารวดี ลูกปัด การค้าทางทะเล เส้นทางสายไหมทางทะเล การค้า

ยุคสมัย

ทวารวดี

จำนวนผู้เข้าชม

82

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

30 ก.ค. 2567

การศึกษาลูกปัดแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย

  • การศึกษาลูกปัดแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ผุสดี รอดเจริญ และ ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล

    ชื่อบทความ :
    การศึกษาลูกปัดแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารมนุษยวิทยา

    เดือน
    เดือน :
    กรกฎาคม - ธันวาคม

    ปี :
    2021

    ปีที่ :
    4

    ฉบับที่ :
    2

    หน้าที่ :
    143 - 285

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความนำเสนอผลการศึกษาโบราณวัตถุประเภทลูกปัดแก้ว จำนวน 254 ตัวอย่าง ที่ได้จากการดำเนินโครงการ “การศึกษาลูกปัดแก้วที่พบจากแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย” ระหว่างปี 2560-2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะของลูกปัดแก้วทั้งทางกายภาพและทางเคมี นำข้อมูลที่ได้ไปจัดเก็บในฐานข้อมูล รวมทั้งนำไปศึกษาแปลความอธิบายภาพชีวิตของผู้คนในอดีตที่เกี่ยวข้องกับลูกปัดแก้ว ผลการศึกษาพบว่าความหลากหลายของลูกปัดแก้วเพิ่มสูงขึ้นตามช่วงเวลา คือแหล่งโบราณคดีที่มีอายุน้อยกว่า พบความหลากหลายของลูกปัดแก้วมากกว่า อาจแสดงถึงระดับความเข้มข้นหรือความนิยมในการใช้ลูกปัดแก้ว หรือความเข้มข้นของการติดต่อกับชุมชนห่างไกลที่เป็นแหล่งผลิตลูกปัดแก้ว ที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ตามยุคสมัย โดยตัวผลิตภัณฑ์ลูกปัดแก้วและการค้าขายหรือส่งต่อลูกปัดแก้วจากแหล่งผลิตที่อยู่ในต่างแดน เช่น เอเชียใต้ จีน ตะวันออกกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มายังพื้นที่ภาคกลางของไทยในปัจจุบันนั้น เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางสายแพรไหมทางทะเล ในช่วงสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายจนถึงสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ทวารวดี

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ทวารวดี ลูกปัด การค้าทางทะเล เส้นทางสายไหมทางทะเล การค้า

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 30 ก.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 82