หน้าแรก บทความ ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย

ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย

ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย

ชื่อผู้แต่ง สมเดช ลีลามโนธรรม
วารสาร/นิตยสาร นิตยสารศิลปากร
เดือน กันยายน-ตุลาคม
ปี 2561
ปีที่ 61
ฉบับที่ 5
หน้าที่ 5-19
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

อินเดียเป็นแหล่งต้นแบบให้แก่การสร้างงานศิลปกรรมโบราณในประเทศไทยจากการติดต่อสัมพันธ์กันตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย เช่นเดียวกับลายประดับแบบหนึ่งที่เรียกว่า “กูฑุ” ซึ่งเป็นลายที่ปรากฏขึ้นตั้งแต่ระยะแรกในงานสถาปัตยกรรมอินเดียโบราณและ สืบต่อมาโดยตลอด และยังปรากฏในสถาปัตยกรรมโบราณของไทย เช่นในเมืองอู่ทอง, พระปฐมเจดีย์ และเขาคลังนอก เมืองศรีเทพด้วย

ลวดลายกูฑุ (kudu) หมายถึง รัง ซุ้ม และลวดลาย วงโค้งรูปเกือกม้า ซึ่งใช้เป็นองค์ประกอบหรือประดับอาคารสถาปัตยกรรมอินเดียใต้ (ในสถาปัตยกรรมอินเดียเหนือ เรียกว่า ควากษะ (gavaksha)) ในลักษณะที่เป็นซุ้มหรือวงโค้งเหนือประตูหรือหน้าต่าง โดยจะย่อส่วนของวงโค้ง ให้มีขนาดเล็กลงประดับตามส่วนต่าง ๆ ของอาคาร

หลักฐานสำคัญ

ลายกูฑุที่พบในชิ้นส่วนโบราณสถานในไทยในเมืองอู่ทอง, พระปฐมเจดีย์, เขาคลังนอก เมืองศรีเทพ, เมืองศรีมโหสถ และเมืองโบราณดงเมืองเตย

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

สถาปัตยกรรมอินเดีย ศรีเทพ อิทธิพลอินเดีย ลายกูฑุ ศรีมโหสถ

ยุคสมัย

ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

จำนวนผู้เข้าชม

182

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

13 ก.ค. 2567

ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย

  • ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    สมเดช ลีลามโนธรรม

    ชื่อบทความ :
    ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย ลวดลายกูทุในสถาปัตยกรรมอินเดีย และที่ปรากฏในโบราณสถานของไทย

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    นิตยสารศิลปากร

    เดือน
    เดือน :
    กันยายน-ตุลาคม

    ปี :
    2561

    ปีที่ :
    61

    ฉบับที่ :
    5

    หน้าที่ :
    5-19

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    อินเดียเป็นแหล่งต้นแบบให้แก่การสร้างงานศิลปกรรมโบราณในประเทศไทยจากการติดต่อสัมพันธ์กันตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย เช่นเดียวกับลายประดับแบบหนึ่งที่เรียกว่า “กูฑุ” ซึ่งเป็นลายที่ปรากฏขึ้นตั้งแต่ระยะแรกในงานสถาปัตยกรรมอินเดียโบราณและ สืบต่อมาโดยตลอด และยังปรากฏในสถาปัตยกรรมโบราณของไทย เช่นในเมืองอู่ทอง, พระปฐมเจดีย์ และเขาคลังนอก เมืองศรีเทพด้วย

    ลวดลายกูฑุ (kudu) หมายถึง รัง ซุ้ม และลวดลาย วงโค้งรูปเกือกม้า ซึ่งใช้เป็นองค์ประกอบหรือประดับอาคารสถาปัตยกรรมอินเดียใต้ (ในสถาปัตยกรรมอินเดียเหนือ เรียกว่า ควากษะ (gavaksha)) ในลักษณะที่เป็นซุ้มหรือวงโค้งเหนือประตูหรือหน้าต่าง โดยจะย่อส่วนของวงโค้ง ให้มีขนาดเล็กลงประดับตามส่วนต่าง ๆ ของอาคาร

    หลักฐานสำคัญ

    ลายกูฑุที่พบในชิ้นส่วนโบราณสถานในไทยในเมืองอู่ทอง, พระปฐมเจดีย์, เขาคลังนอก เมืองศรีเทพ, เมืองศรีมโหสถ และเมืองโบราณดงเมืองเตย


    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    สถาปัตยกรรมอินเดีย ศรีเทพ อิทธิพลอินเดีย ลายกูฑุ ศรีมโหสถ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 13 ก.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 182