หน้าแรก บทความ Glass Beads in Asia Part Two. Indo-Pacific Beads

Glass Beads in Asia Part Two. Indo-Pacific Beads

Glass Beads in Asia Part Two. Indo-Pacific Beads

ชื่อผู้แต่ง PETER FRANCIS, JR.
วารสาร/นิตยสาร Asian Perspectives
เดือน พฤศจิกายน
ปี 1990
ปีที่ 29
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 1-23
ภาษา อังกฤษ
หมายเหตุ <p>แปลจากภาษาอังกฤษ อาจมีความคลาดเคลื่อน</p>

เนื้อหาโดยย่อ

บทความตั้งข้อสงสัยถึงแหล่งผลิตหรือที่มาของลูกปัดประเภทTrade Wind Bead หรือบางแห่งก็เรียกว่า Indo-Pacific Monochrome Drawn Glass Beads, ซึ่งเป็นลูกปัดขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 6 มม. รูปร่างมีลักษณะเป็นวงรี ท่อ หรือแผ่นดิสก์ มีหลายสี เช่น สีแดงทึบ สีส้ม สีเขียว สีเหลือง สีดำ สีฟ้าและสีเขียวโปร่งแสง นอกจากนี้ยังพบ สีม่วงโปร่งแสง สีเหลืองอำพัน และสีขาวใสและทึบแสง ด้วยแต่ไม่บ่อยนัก โดยมีข้อเสนอว่า

1. ผลิตที่เมือง Kuala Selinsing ประเทศมาเลเซีย

2. ผลิตจากกลุ่มผลิตลูกปัดเร่ร่อนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แต่ในบทสรุปกลับกล่าวว่า แหล่งที่มาของลูกปัดเหล่านี้ยังไม่ชัดเจน แต่ปัจจัยสำคัญของการผลิตลูกปัดคือชาวอินเดีย ที่นำเข้าวิธีการผลิตมาพร้อมกับการทำการค้า โดยมี 9 หลุมขุดค้นที่มีโอกาสเป็นแหล่งผลิต และอีก 6 หลุมขุดค้นที่อาจเป็นแหล่งผลิต

หลักฐานสำคัญ

ลูกปัดประเภทTrade Wind Bead ที่พบบริเวณอินเดียใต้ ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทางตอนใต้ของจีนและญี่ปุ่น

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ลูกปัด การค้าทางทะเล อิทธิพลอินเดีย อริกเมฑุ แหล่งผลิตลูกปัด

ยุคสมัย

พ.ศ.500-700

จำนวนผู้เข้าชม

56

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

11 ก.ค. 2567

Glass Beads in Asia Part Two. Indo-Pacific Beads

  • Glass Beads in Asia Part Two. Indo-Pacific Beads
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    PETER FRANCIS, JR.

    ชื่อบทความ :
    Glass Beads in Asia Part Two. Indo-Pacific Beads

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    Asian Perspectives

    เดือน
    เดือน :
    พฤศจิกายน

    ปี :
    1990

    ปีที่ :
    29

    ฉบับที่ :
    1

    หน้าที่ :
    1-23

    ภาษา :
    อังกฤษ

    หมายเหตุ :

    แปลจากภาษาอังกฤษ อาจมีความคลาดเคลื่อน


    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความตั้งข้อสงสัยถึงแหล่งผลิตหรือที่มาของลูกปัดประเภทTrade Wind Bead หรือบางแห่งก็เรียกว่า Indo-Pacific Monochrome Drawn Glass Beads, ซึ่งเป็นลูกปัดขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 6 มม. รูปร่างมีลักษณะเป็นวงรี ท่อ หรือแผ่นดิสก์ มีหลายสี เช่น สีแดงทึบ สีส้ม สีเขียว สีเหลือง สีดำ สีฟ้าและสีเขียวโปร่งแสง นอกจากนี้ยังพบ สีม่วงโปร่งแสง สีเหลืองอำพัน และสีขาวใสและทึบแสง ด้วยแต่ไม่บ่อยนัก โดยมีข้อเสนอว่า

    1. ผลิตที่เมือง Kuala Selinsing ประเทศมาเลเซีย

    2. ผลิตจากกลุ่มผลิตลูกปัดเร่ร่อนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

    แต่ในบทสรุปกลับกล่าวว่า แหล่งที่มาของลูกปัดเหล่านี้ยังไม่ชัดเจน แต่ปัจจัยสำคัญของการผลิตลูกปัดคือชาวอินเดีย ที่นำเข้าวิธีการผลิตมาพร้อมกับการทำการค้า โดยมี 9 หลุมขุดค้นที่มีโอกาสเป็นแหล่งผลิต และอีก 6 หลุมขุดค้นที่อาจเป็นแหล่งผลิต

    หลักฐานสำคัญ

    ลูกปัดประเภทTrade Wind Bead ที่พบบริเวณอินเดียใต้ ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทางตอนใต้ของจีนและญี่ปุ่น


    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    พ.ศ.500-700

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ลูกปัด การค้าทางทะเล อิทธิพลอินเดีย อริกเมฑุ แหล่งผลิตลูกปัด

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 11 ก.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 56