หน้าแรก บทความ อารยธรรมของปราสาทนครวัดในทัศนคติของชาวกัมพูชา

อารยธรรมของปราสาทนครวัดในทัศนคติของชาวกัมพูชา

อารยธรรมของปราสาทนครวัดในทัศนคติของชาวกัมพูชา

ชื่อผู้แต่ง พระณัฐวุฒิ พันทะลี
วารสาร/นิตยสาร วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มมร.วิทยาเขตอีสาน
เดือน กันยายน - ธันวาคม
ปี 2563
ปีที่ 1
ฉบับที่ 3
หน้าที่ 45 - 52
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

บทควารมนี้เป็นการศึกษาดินแดนอารยธรรมของปราสาทนครวัดในทัศนคติของชาวกัมพูชาหรืออาณาจักรขอมโบราณที่ได้รับอิทธิพลทางศาสนาและวัฒนธรรมจากอินเดียอย่างเต็มตัว โดยเฉพาะความเชื่อตามทัศนคติในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ซึ่งเข้ามามีอิทธิพลก่อนพุทธศาสนาอย่างเนิ่นนาน ศาสนานี้จึงยกย่องกษัตริย์เสมือนดั่งเทพเจ้าที่เรียกว่า “ลัทธิเทวราชา” นั่นหมายถึงว่า กษัตริย์ คือ ตัวแทนของเทพเจ้าบนโลกมนุษย์และวิธีการยกย่องก็กระทำโดยการสร้างเทวสถานหรือเทวาลัยถวายให้พระราชภารกิจของกษัตริย์ขอมทุกพระองค์ที่จะต้องสร้างปราสาทหินเป็นเทวสถานแด่บรรพบุรุษหรือถวายแด่พระองค์เอง ฉะนั้นคำว่า “ปราสาท” ในที่นี้จึงมิได้หมายถึงปราสาทราชวังอันเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ แต่ปราสาท คือ ศาสนสถานอันถือเป็นที่ประทับของเทพเจ้าบนโลกมนุษย์ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมก็จะต้องเป็นแบบ “ศาสนสถานบนฐานที่เป็นชั้น” และขุดสระหรือคูน้ำที่เขมรเรียกว่า “บาราย” ล้อมรอบโดยมีลวดลายแกะสลักหินเป็นรูปพญานาคซึ่งเป็นสัญลักษณ์น้ำและความอุดมสมบูรณ์ เปรียบเทียบได้กับเขาพระสุเมรุที่ล้อมรอบด้วยมหาสมุทร อันเป็นสัญลักษณ์ของระบบสุริยจักรวาลตามคติฮินดูนั่นหมายความว่า ปราสาทหินที่กษัตริย์ขอมสร้างขึ้นก็คือศูนย์กลางของโลกและจักรวาลอันยิ่งใหญ่นั่นเอง

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ปราสาทเขมร อารยรธรรม นครวัด ปราสาทนครวัด กัมพูชา

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น

จำนวนผู้เข้าชม

253

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

21 มิ.ย. 2567

อารยธรรมของปราสาทนครวัดในทัศนคติของชาวกัมพูชา

  • อารยธรรมของปราสาทนครวัดในทัศนคติของชาวกัมพูชา
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    พระณัฐวุฒิ พันทะลี

    ชื่อบทความ :
    อารยธรรมของปราสาทนครวัดในทัศนคติของชาวกัมพูชา

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มมร.วิทยาเขตอีสาน

    เดือน
    เดือน :
    กันยายน - ธันวาคม

    ปี :
    2563

    ปีที่ :
    1

    ฉบับที่ :
    3

    หน้าที่ :
    45 - 52

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    บทควารมนี้เป็นการศึกษาดินแดนอารยธรรมของปราสาทนครวัดในทัศนคติของชาวกัมพูชาหรืออาณาจักรขอมโบราณที่ได้รับอิทธิพลทางศาสนาและวัฒนธรรมจากอินเดียอย่างเต็มตัว โดยเฉพาะความเชื่อตามทัศนคติในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ซึ่งเข้ามามีอิทธิพลก่อนพุทธศาสนาอย่างเนิ่นนาน ศาสนานี้จึงยกย่องกษัตริย์เสมือนดั่งเทพเจ้าที่เรียกว่า “ลัทธิเทวราชา” นั่นหมายถึงว่า กษัตริย์ คือ ตัวแทนของเทพเจ้าบนโลกมนุษย์และวิธีการยกย่องก็กระทำโดยการสร้างเทวสถานหรือเทวาลัยถวายให้พระราชภารกิจของกษัตริย์ขอมทุกพระองค์ที่จะต้องสร้างปราสาทหินเป็นเทวสถานแด่บรรพบุรุษหรือถวายแด่พระองค์เอง ฉะนั้นคำว่า “ปราสาท” ในที่นี้จึงมิได้หมายถึงปราสาทราชวังอันเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ แต่ปราสาท คือ ศาสนสถานอันถือเป็นที่ประทับของเทพเจ้าบนโลกมนุษย์ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมก็จะต้องเป็นแบบ “ศาสนสถานบนฐานที่เป็นชั้น” และขุดสระหรือคูน้ำที่เขมรเรียกว่า “บาราย” ล้อมรอบโดยมีลวดลายแกะสลักหินเป็นรูปพญานาคซึ่งเป็นสัญลักษณ์น้ำและความอุดมสมบูรณ์ เปรียบเทียบได้กับเขาพระสุเมรุที่ล้อมรอบด้วยมหาสมุทร อันเป็นสัญลักษณ์ของระบบสุริยจักรวาลตามคติฮินดูนั่นหมายความว่า ปราสาทหินที่กษัตริย์ขอมสร้างขึ้นก็คือศูนย์กลางของโลกและจักรวาลอันยิ่งใหญ่นั่นเอง

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ปราสาทเขมร อารยรธรรม นครวัด ปราสาทนครวัด กัมพูชา

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 21 มิ.ย. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 253