ชื่อผู้แต่ง | ศาห์นาจ ฮุสเน จาฮัน |
วารสาร/นิตยสาร | วารสารวิจิตรศิลป์ |
เดือน | กรกฎาคม-ธันวาคม |
ปี | 2555 |
ปีที่ | 3 |
ฉบับที่ | 2 |
หน้าที่ | 205-228 |
ภาษา | ไทย |
หัวเรื่อง | การค้าทางทะเล, โบราณคดี, เบงกอล, ประเทศไทย |
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงภาพการค้าทางทะเลระหว่างไทยและเบงกอล (ปัจจุบัน คือ ประเทศบังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดีย) โดยการศึกษาค้นคว้าจากวัตถุทางวัฒนธรรมนับตั้งแต่ 4 ศตวรรษก่อนคริสตกาลจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ซึ่งค้นพบในแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ดังกล่าวและนำมาประกอบให้เห็นภาพเครือข่ายการค้าในมหาสมุทรอินเดียระดับมหัพภาค การสำรวจและการวิเคราะห์ใคร่ครวญในงานศึกษานี้แบ่งเป็น 3 ระดับ ประการแรกสุด คือ การแสดงภาพหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับการค้าทางทะเล อาทิ ภาชนะดินเผาสีดำขัดมันแบบทางเหนือ ภาชนะดินเผาแบบมีลายเป็นวงรอบ ภาชนะดินเผาแบบมีปุ่ม ภาชนะดินเผาแบบมีรอยประทับ ลูกปัดหินกึ่งมีค่าและลูกปัดแก้ว และตราประทับที่มีอักษรพราหมี-ขโรศตี ประการที่สอง เป็นการติดตามร่องรอยพัฒนาการของเครือข่ายการค้าทางทะเลระหว่างไทยและเบงกอล และสุดท้ายประการที่สาม แสดงภาพเส้นทางการค้าดังกล่าวโดยเฉพาะเจาะจง
ภาพหลักฐานทางโบราณคดี
ภาชนะดินเผาสี
ลูกปัดหิน
ลูกปัดแก้ว
ตราประทับอักษรพราหมี-ขโรศตี
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงภาพการค้าทางทะเลระหว่างไทยและเบงกอล (ปัจจุบัน คือ ประเทศบังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดีย) โดยการศึกษาค้นคว้าจากวัตถุทางวัฒนธรรมนับตั้งแต่ 4 ศตวรรษก่อนคริสตกาลจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ซึ่งค้นพบในแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ดังกล่าวและนำมาประกอบให้เห็นภาพเครือข่ายการค้าในมหาสมุทรอินเดียระดับมหัพภาค การสำรวจและการวิเคราะห์ใคร่ครวญในงานศึกษานี้แบ่งเป็น 3 ระดับ ประการแรกสุด คือ การแสดงภาพหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับการค้าทางทะเล อาทิ ภาชนะดินเผาสีดำขัดมันแบบทางเหนือ ภาชนะดินเผาแบบมีลายเป็นวงรอบ ภาชนะดินเผาแบบมีปุ่ม ภาชนะดินเผาแบบมีรอยประทับ ลูกปัดหินกึ่งมีค่าและลูกปัดแก้ว และตราประทับที่มีอักษรพราหมี-ขโรศตี ประการที่สอง เป็นการติดตามร่องรอยพัฒนาการของเครือข่ายการค้าทางทะเลระหว่างไทยและเบงกอล และสุดท้ายประการที่สาม แสดงภาพเส้นทางการค้าดังกล่าวโดยเฉพาะเจาะจง
ภาพหลักฐานทางโบราณคดี
ภาชนะดินเผาสี
ลูกปัดหิน
ลูกปัดแก้ว
ตราประทับอักษรพราหมี-ขโรศตี