หน้าแรก บทความ พระพุทธศาสนาในเส้นทางสายไหม : ประวัติศาสตร์, หลักฐานทางโบราณคดี และพัฒนาการการสร้างอารยธรรมของมนุษยชาติ

พระพุทธศาสนาในเส้นทางสายไหม : ประวัติศาสตร์, หลักฐานทางโบราณคดี และพัฒนาการการสร้างอารยธรรมของมนุษยชาติ

พระพุทธศาสนาในเส้นทางสายไหม : ประวัติศาสตร์, หลักฐานทางโบราณคดี และพัฒนาการการสร้างอารยธรรมของมนุษยชาติ

ชื่อผู้แต่ง พระมหาดาวสยาม วชิรปญฺโญ และคณะ
วารสาร/นิตยสาร วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น
เดือน มกราคม - มิถุนายน
ปี 2562
ปีที่ 6
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 419 - 430
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

บทความนี้เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาหลักฐานทางโบราณคดีพระพุทธศาสนาและอารยธรรมของมนุษยชาติตามเส้นทางสายไหม โดยเน้นการศึกษาจากหลักฐานเอกสารทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และอารยธรรมในมณฑลซินเจียง ประเทศจีนและรัฐพิหารประเทศอินเดียเป็นหลักแล้วนำมาวิเคราะห์ ซึ่งพบว่า เส้นทางสายไหม เป็นเส้นทางการค้าสมัยโบราณในภูมิภาคของทวีปเอเชียที่เชื่อมตะวันตกและตะวันออก พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้าไปเผยแพร่หลังสังคายนาครั้งที่ 3 เป็นต้นมาและได้รับการนับถืออย่างแพร่หลายนับพันปีจนถึง พ.ศ.1700 จึงเสื่อมสูญไป หลักฐานทางโบราณคดีของพระพุทธศาสนาตามเส้นทางสายไหม ได้แก่พระพุทธรูป เจดีย์ การเจาะถ้ำ การเก็บคัมภีร์ปรากฏในประเทศอินเดีย ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ทาจีกิสถาน และจีน และอารยธรรมของมนุษยชาติตามเส้นทางสายไหม ได้แก่ การแลกเปลี่ยนเงินตรา การศาสนา การเมืองการปกครอง วัฒนธรรม จารีตประเพณีรวมไปถึงนวัตกรรมของมนุษย์ เช่น การบันทึก การขุดเจาะถ้ำ  สถาปัตยกรรมและการทำมัมมี่

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

พระพุทธศาสนา เส้นทางสายไหม อารยธรรมเอเชีย

จำนวนผู้เข้าชม

93

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

29 พ.ค. 2567

พระพุทธศาสนาในเส้นทางสายไหม : ประวัติศาสตร์, หลักฐานทางโบราณคดี และพัฒนาการการสร้างอารยธรรมของมนุษยชาติ

  • พระพุทธศาสนาในเส้นทางสายไหม : ประวัติศาสตร์, หลักฐานทางโบราณคดี และพัฒนาการการสร้างอารยธรรมของมนุษยชาติ
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    พระมหาดาวสยาม วชิรปญฺโญ และคณะ

    ชื่อบทความ :
    พระพุทธศาสนาในเส้นทางสายไหม : ประวัติศาสตร์, หลักฐานทางโบราณคดี และพัฒนาการการสร้างอารยธรรมของมนุษยชาติ

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม - มิถุนายน

    ปี :
    2562

    ปีที่ :
    6

    ฉบับที่ :
    1

    หน้าที่ :
    419 - 430

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความนี้เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาหลักฐานทางโบราณคดีพระพุทธศาสนาและอารยธรรมของมนุษยชาติตามเส้นทางสายไหม โดยเน้นการศึกษาจากหลักฐานเอกสารทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และอารยธรรมในมณฑลซินเจียง ประเทศจีนและรัฐพิหารประเทศอินเดียเป็นหลักแล้วนำมาวิเคราะห์ ซึ่งพบว่า เส้นทางสายไหม เป็นเส้นทางการค้าสมัยโบราณในภูมิภาคของทวีปเอเชียที่เชื่อมตะวันตกและตะวันออก พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้าไปเผยแพร่หลังสังคายนาครั้งที่ 3 เป็นต้นมาและได้รับการนับถืออย่างแพร่หลายนับพันปีจนถึง พ.ศ.1700 จึงเสื่อมสูญไป หลักฐานทางโบราณคดีของพระพุทธศาสนาตามเส้นทางสายไหม ได้แก่พระพุทธรูป เจดีย์ การเจาะถ้ำ การเก็บคัมภีร์ปรากฏในประเทศอินเดีย ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ทาจีกิสถาน และจีน และอารยธรรมของมนุษยชาติตามเส้นทางสายไหม ได้แก่ การแลกเปลี่ยนเงินตรา การศาสนา การเมืองการปกครอง วัฒนธรรม จารีตประเพณีรวมไปถึงนวัตกรรมของมนุษย์ เช่น การบันทึก การขุดเจาะถ้ำ  สถาปัตยกรรมและการทำมัมมี่

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    พระพุทธศาสนา เส้นทางสายไหม อารยธรรมเอเชีย

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 29 พ.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 93