หน้าแรก บทความ ความเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

ความเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

ความเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

ชื่อผู้แต่ง ณรงค์ ชัยช้าง
วารสาร/นิตยสาร วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์
เดือน กรกฎาคม-ธันวาคม
ปี 2561
ปีที่ 3
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 47-53
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

กล่าวถึงแม่น้ำโขงที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่าง ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างแหล่งอารยธรรมใหญ่ 2 แห่งคือ จีนทางตอนเหนือและอินเดียทางตะวันตก ทำให้เกิดการผสมผสานเชื่อมโยงทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะศาสนาพุทธในภูมิภาคขึ้นเมื่อพระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งพระโสณเถระกับพระอุตตรเถระ เป็นสมณฑูตมาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียเจริญสุดขีดได้มีการเดินทางไปศึกษาพุทธธรรมที่อินเดียกันอย่างต่อเนื่องและได้นำพระธรรมมาเผยแผ่ในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนใต้ ทำให้กษัตริย์ผู้ครองอาณาจักรต่าง ๆ ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่าง มีพระราชศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนายอมรับนับถือศาสนาพุทธไว้เป็นศาสนาประจำชาติ จนกลายเป็นวัฒนธรรม ประเพณีพุทธ ที่ก่อให้เกิดความคล้ายกันของคนในภูมิภาคและทำให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่างได้จนถึงปัจจุบัน

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

พระพุทธศาสนา แม่น้ำโขง การเผยแผ่ศาสนา เส้นทาง

จำนวนผู้เข้าชม

134

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

26 พ.ค. 2567

ความเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

  • ความเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ณรงค์ ชัยช้าง

    ชื่อบทความ :
    ความเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์

    เดือน
    เดือน :
    กรกฎาคม-ธันวาคม

    ปี :
    2561

    ปีที่ :
    3

    ฉบับที่ :
    2

    หน้าที่ :
    47-53

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    กล่าวถึงแม่น้ำโขงที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่าง ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างแหล่งอารยธรรมใหญ่ 2 แห่งคือ จีนทางตอนเหนือและอินเดียทางตะวันตก ทำให้เกิดการผสมผสานเชื่อมโยงทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะศาสนาพุทธในภูมิภาคขึ้นเมื่อพระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งพระโสณเถระกับพระอุตตรเถระ เป็นสมณฑูตมาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียเจริญสุดขีดได้มีการเดินทางไปศึกษาพุทธธรรมที่อินเดียกันอย่างต่อเนื่องและได้นำพระธรรมมาเผยแผ่ในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนใต้ ทำให้กษัตริย์ผู้ครองอาณาจักรต่าง ๆ ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่าง มีพระราชศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนายอมรับนับถือศาสนาพุทธไว้เป็นศาสนาประจำชาติ จนกลายเป็นวัฒนธรรม ประเพณีพุทธ ที่ก่อให้เกิดความคล้ายกันของคนในภูมิภาคและทำให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่างได้จนถึงปัจจุบัน

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    พระพุทธศาสนา แม่น้ำโขง การเผยแผ่ศาสนา เส้นทาง

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 26 พ.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 134