หน้าแรก บทความ การวิเคราะห์รูปแบบลวดลายศรีวิชัยที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย เพื่อการประยุกต์ลวดลายใหม่

การวิเคราะห์รูปแบบลวดลายศรีวิชัยที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย เพื่อการประยุกต์ลวดลายใหม่

การวิเคราะห์รูปแบบลวดลายศรีวิชัยที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย เพื่อการประยุกต์ลวดลายใหม่

ชื่อผู้แต่ง ตวงรัก รัตนพันธุ์ และคณะ
วารสาร/นิตยสาร วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
เดือน มกราคม-เมษายน
ปี 2567
ปีที่ 7
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 57-71
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

เป็นการศึกษารูปแบบลวดลายที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย เพื่อวิเคราะห์รูปแบบลวดลายศรีวิชัยที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัยและเพื่อประยุกต์รูปแบบลวดลายใหม่ โดยวิเคราะห์รูปแบบลวดลายจาก 4 อัตลักษณ์ ประกอบด้วย 1) อัตลักษณ์การแต่งกายสมัยศรีวิชัย 2) อัตลักษณ์สถาปัตยกรรมสมัยศรีวิชัย 3) อัตลักษณ์ศิลปกรรมสมัยศรีวิชัย และ 4) อัตลักษณ์เครื่องราชบรรณาการสมัยศรีวิชัย แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ เอกสารวิชาการทางประวัติศาสตร์ จากหนังสือ ตำรา บทความวิจัย และบทความวิชาการ จำนวน 19 เรื่อง แบ่งเป็นแหล่งข้อมูลในประเทศ จำนวน 13 เรื่อง และแหล่งข้อมูลต่างประเทศ จำนวน 6 เรื่อง กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิเคราะห์ เป็นกลุ่มบุคคลที่สามารถยืนยันรูปแบบลวดลายที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย จำนวน 20 คน ในพื้นที่วิจัย 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดกระบี่ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบลวดลายที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัยมี 2 อัตลักษณ์ ได้แก่ 1) อัตลักษณ์สถาปัตยกรรมสมัยศรีวิชัย สามารถพบรูปแบบลวดลายที่สะท้อนอัตลักษณ์ศรีวิชัยจากสถาปัตยกรรม ได้แก่ วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสะท้อนจากหน้าบันด้านนอกบริเวณซุ้มประตูทางเข้าวัด และหน้าบันด้านนอกบริเวณหน้าพระอุโบสถภายในวัด และหน้าบันด้านในบริเวณพระบรมธาตุไชยา และ 2) อัตลักษณ์ศิลปกรรมสมัยศรีวิชัย สามารถพบรูปแบบลวดลายที่สะท้อนอัตลักษณ์ศรีวิชัยจากศิลปกรรม ได้แก่ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร โดยสะท้อนจากเครื่องประดับองค์ของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ซึ่งอยู่บริเวณ ศีรษะ หน้าอก แขน และข้อเท้า สามารถประยุกต์ลวดลายใหม่ได้ 9 รูปแบบ

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ศรีวิชัย ศิลปะศรีวิชัย อัตลักษณ์ศรีวิชัย

ยุคสมัย

ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

จำนวนผู้เข้าชม

114

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

29 เม.ย. 2567

การวิเคราะห์รูปแบบลวดลายศรีวิชัยที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย เพื่อการประยุกต์ลวดลายใหม่

  • การวิเคราะห์รูปแบบลวดลายศรีวิชัยที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย เพื่อการประยุกต์ลวดลายใหม่
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ตวงรัก รัตนพันธุ์ และคณะ

    ชื่อบทความ :
    การวิเคราะห์รูปแบบลวดลายศรีวิชัยที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย เพื่อการประยุกต์ลวดลายใหม่

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม-เมษายน

    ปี :
    2567

    ปีที่ :
    7

    ฉบับที่ :
    1

    หน้าที่ :
    57-71

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    เป็นการศึกษารูปแบบลวดลายที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย เพื่อวิเคราะห์รูปแบบลวดลายศรีวิชัยที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัยและเพื่อประยุกต์รูปแบบลวดลายใหม่ โดยวิเคราะห์รูปแบบลวดลายจาก 4 อัตลักษณ์ ประกอบด้วย 1) อัตลักษณ์การแต่งกายสมัยศรีวิชัย 2) อัตลักษณ์สถาปัตยกรรมสมัยศรีวิชัย 3) อัตลักษณ์ศิลปกรรมสมัยศรีวิชัย และ 4) อัตลักษณ์เครื่องราชบรรณาการสมัยศรีวิชัย แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ เอกสารวิชาการทางประวัติศาสตร์ จากหนังสือ ตำรา บทความวิจัย และบทความวิชาการ จำนวน 19 เรื่อง แบ่งเป็นแหล่งข้อมูลในประเทศ จำนวน 13 เรื่อง และแหล่งข้อมูลต่างประเทศ จำนวน 6 เรื่อง กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิเคราะห์ เป็นกลุ่มบุคคลที่สามารถยืนยันรูปแบบลวดลายที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัย จำนวน 20 คน ในพื้นที่วิจัย 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดกระบี่ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบลวดลายที่ปรากฏตามอัตลักษณ์ศรีวิชัยมี 2 อัตลักษณ์ ได้แก่ 1) อัตลักษณ์สถาปัตยกรรมสมัยศรีวิชัย สามารถพบรูปแบบลวดลายที่สะท้อนอัตลักษณ์ศรีวิชัยจากสถาปัตยกรรม ได้แก่ วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสะท้อนจากหน้าบันด้านนอกบริเวณซุ้มประตูทางเข้าวัด และหน้าบันด้านนอกบริเวณหน้าพระอุโบสถภายในวัด และหน้าบันด้านในบริเวณพระบรมธาตุไชยา และ 2) อัตลักษณ์ศิลปกรรมสมัยศรีวิชัย สามารถพบรูปแบบลวดลายที่สะท้อนอัตลักษณ์ศรีวิชัยจากศิลปกรรม ได้แก่ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร โดยสะท้อนจากเครื่องประดับองค์ของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ซึ่งอยู่บริเวณ ศีรษะ หน้าอก แขน และข้อเท้า สามารถประยุกต์ลวดลายใหม่ได้ 9 รูปแบบ

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ศรีวิชัย ศิลปะศรีวิชัย อัตลักษณ์ศรีวิชัย

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 23 พ.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 114