หน้าแรก บทความ การศึกษารูปแบบประติมากรรมเหวัชระ ที่ปรากฏในศิลปะเขมร

การศึกษารูปแบบประติมากรรมเหวัชระ ที่ปรากฏในศิลปะเขมร

การศึกษารูปแบบประติมากรรมเหวัชระ ที่ปรากฏในศิลปะเขมร

ชื่อผู้แต่ง ชัญธิกา มนาปี
วารสาร/นิตยสาร ดำรงวิชาการ
เดือน มกราคม - มิถุนายน
ปี 2559
ปีที่ 15
ฉบับที่ 1
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

เหวัชระเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าเทพผู้พิทักษ์หรือยิดัม เป็นเทพที่มีความสําาคัญองค์หนึ่งในพุทธศาสนา นิกายวัชรยาน มีหน้าที่ปกป้องคุ้มครองพุทธศาสนา ปรากฏความเชื่อและการนับถือขึ้นเป็นครั้งแรกในอินเดีย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 สมัยราชวงศ์ปาละ ในประเทศอินเดียเองมีการสร้างประติมากรรมเหวัชระอยู่ไม่มากนักเมื่อเทียบกับประเทศใกล้เคียง เช่น ประเทศเนปาล และประเทศทิเบต ที่นับถือนิกายวัชรยานเช่นกัน สําาหรับในประเทศกัมพูชาพบว่าประติมากรรมเหวัชระนิยมสร้างในศิลปะนครวัดและแพร่หลายในศิลปะบายน มีอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 17-18 พบทั้งรูปแบบกปาละธรและศาสตราธร ทําาขึ้นจากวัสดุหลากหลายประเภท เช่น สําาริด หิน และงาช้าง ในสมัยพระเจ้าชัยวรมัoที่ 7 การนับถือเหวัชระมีความสําาคัญต่ออาณาจักเขมร โดยเห็นได้จาก 1) รูปแบบทางศิลปะของประติมากรรมเหวัชระในนครวัดที่หลากหลายมากกว่าที่พบในอินเดีย 2) ลักษณะทางประติมานวิทยาของประติมากรรมเหวัชระในนครวัดที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของศิลปะเขมร 3) ประติมากรรมเหวัชระในนครวัดบางชิ้นที่มีขนาดใหญ่เกินจริง

หลักฐานสำคัญ

ประติมากรรมเหวัชระ มี 16 กร ถือถ้วยกะโหลกบรรจุเทพแห่งแผ่นดินและสัตว์โลก

ชิ้นส่วนประติมากรรมเหวัชระ พบที่บ่อน้ําาด้านหน้าของทางเข้าออ

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

พุทธศิลปะ ศิลปะเขมร วัชรยาน เหวัชระ

จำนวนผู้เข้าชม

267

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

19 เม.ย. 2567

การศึกษารูปแบบประติมากรรมเหวัชระ ที่ปรากฏในศิลปะเขมร

  • การศึกษารูปแบบประติมากรรมเหวัชระ ที่ปรากฏในศิลปะเขมร
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ชัญธิกา มนาปี

    ชื่อบทความ :
    การศึกษารูปแบบประติมากรรมเหวัชระ ที่ปรากฏในศิลปะเขมร

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    ดำรงวิชาการ

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม - มิถุนายน

    ปี :
    2559

    ปีที่ :
    15

    ฉบับที่ :
    1

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    เหวัชระเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าเทพผู้พิทักษ์หรือยิดัม เป็นเทพที่มีความสําาคัญองค์หนึ่งในพุทธศาสนา นิกายวัชรยาน มีหน้าที่ปกป้องคุ้มครองพุทธศาสนา ปรากฏความเชื่อและการนับถือขึ้นเป็นครั้งแรกในอินเดีย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 สมัยราชวงศ์ปาละ ในประเทศอินเดียเองมีการสร้างประติมากรรมเหวัชระอยู่ไม่มากนักเมื่อเทียบกับประเทศใกล้เคียง เช่น ประเทศเนปาล และประเทศทิเบต ที่นับถือนิกายวัชรยานเช่นกัน สําาหรับในประเทศกัมพูชาพบว่าประติมากรรมเหวัชระนิยมสร้างในศิลปะนครวัดและแพร่หลายในศิลปะบายน มีอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 17-18 พบทั้งรูปแบบกปาละธรและศาสตราธร ทําาขึ้นจากวัสดุหลากหลายประเภท เช่น สําาริด หิน และงาช้าง ในสมัยพระเจ้าชัยวรมัoที่ 7 การนับถือเหวัชระมีความสําาคัญต่ออาณาจักเขมร โดยเห็นได้จาก 1) รูปแบบทางศิลปะของประติมากรรมเหวัชระในนครวัดที่หลากหลายมากกว่าที่พบในอินเดีย 2) ลักษณะทางประติมานวิทยาของประติมากรรมเหวัชระในนครวัดที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของศิลปะเขมร 3) ประติมากรรมเหวัชระในนครวัดบางชิ้นที่มีขนาดใหญ่เกินจริง

    หลักฐานสำคัญ

    ประติมากรรมเหวัชระ มี 16 กร ถือถ้วยกะโหลกบรรจุเทพแห่งแผ่นดินและสัตว์โลก

    ชิ้นส่วนประติมากรรมเหวัชระ พบที่บ่อน้ําาด้านหน้าของทางเข้าออ


    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    พุทธศิลปะ ศิลปะเขมร วัชรยาน เหวัชระ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 19 เม.ย. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 267