ชื่อผู้แต่ง | เพชรรุ่ง เทียนปิ๋วโรจน์ |
วารสาร/นิตยสาร | Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University |
เดือน | มกราคม - มิถุนายน |
ปี | 2563 |
ปีที่ | 1 |
ฉบับที่ | 1 |
หน้าที่ | 157 - 179 |
ภาษา | ไทย |
บทความนี้มีเนื้อหาการมุ่งศึกษาถึงพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัยที่ค้นพบในภาคใต้ของ ดินแดนประเทศไทยตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ตามระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์โดยเน้นการวิจัยผ่านหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง และมุ่งอธิบายถึง ลักษณะทางประติมานวิทยาของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัย และความสำคัญของการปรากฏรูปเคารพพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัยที่พบในภาคใต้ของประเทศไทย ที่ค้นพบว่าลักษณะทางประติมานวิทยาของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัยมีลักษณะบางส่วนที่คล้ายคลึงกับพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรของอินเดีย การค้นพบรูปเคารพพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรจำนวนมาก สะท้อนให้เห็นถึงการรับอิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียในดินแดนประเทศไทย การนับถือพระพุทธศาสนามหายานและการสร้างพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรที่มีลักษณะศิลปะอินเดีย และ มีการปรับเปลี่ยนลักษณะของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรให้เข้ากับความเป็นท้องถิ่น
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรปัทมปาณี
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรพบที่วัดศาลาทึง
บทความนี้มีเนื้อหาการมุ่งศึกษาถึงพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัยที่ค้นพบในภาคใต้ของ ดินแดนประเทศไทยตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ตามระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์โดยเน้นการวิจัยผ่านหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง และมุ่งอธิบายถึง ลักษณะทางประติมานวิทยาของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัย และความสำคัญของการปรากฏรูปเคารพพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัยที่พบในภาคใต้ของประเทศไทย ที่ค้นพบว่าลักษณะทางประติมานวิทยาของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัยมีลักษณะบางส่วนที่คล้ายคลึงกับพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรของอินเดีย การค้นพบรูปเคารพพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรจำนวนมาก สะท้อนให้เห็นถึงการรับอิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียในดินแดนประเทศไทย การนับถือพระพุทธศาสนามหายานและการสร้างพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรที่มีลักษณะศิลปะอินเดีย และ มีการปรับเปลี่ยนลักษณะของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรให้เข้ากับความเป็นท้องถิ่น
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรปัทมปาณี
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรพบที่วัดศาลาทึง