หน้าแรก บทความ การเข้ามาของพระพุทธศาสนาและระบอบราชามหากษัตริย์ในสุวรรณภูมิ

การเข้ามาของพระพุทธศาสนาและระบอบราชามหากษัตริย์ในสุวรรณภูมิ

การเข้ามาของพระพุทธศาสนาและระบอบราชามหากษัตริย์ในสุวรรณภูมิ

ชื่อผู้แต่ง ศรีศักร วัลลิโภดม
วารสาร/นิตยสาร วารสารเมืองโบราณ
เดือน ตุลาคม-ธันวาคม
ปี 2562
ปีที่ 45
ฉบับที่ 4
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

การติดต่อกันระหว่างดินแดนสุวรรณภูมิและอินเดียในการแลกเปลี่ยนสินค้าถือเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้บริเวณแถบนี้ได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียและนำมาปรับใช้ผสมผสานกับวัฒนธรรมดั้งเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสังคมเมืองจากที่ไม่มีภาษาเป็นของตนเองรวมไปถึงตัวอักษร จึงได้รับภาษาบาลี-สันสกฤต รวมไปถึงวิทยาการและวัฒนธรรมต่าง ๆ  ที่เข้ามาพร้อมกัน สิ่งที่อาจารย์ศรีศักรได้กล่าวเป็นหลักคือศาสนาและการปกครองที่ถูกนักวิชาการต่างชาติมองว่าเป็นการลอกเลียนแบบจากอินเดียอย่างเห็นได้ชัด และดูถูกสติปัญญาของประชากรบริเวณดินแดนสุวรรณภูมิ การเข้ามาติดต่อค้าขายกับสุวรรณภูมิทำให้มีนักบวชเดินทางเข้ามาพร้อมกัน และเป็นส่วนที่เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาและการปกครองระบบราชามหากษัตริย์ให้กับชนชั้นสูงที่มองว่ากษัตริย์ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก และเกิดแนวคิดจักรพรรดิราชขึ้นมา ภายหลังในยุคสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชใน พ.13 ได้มีการนำเข้าวัฒนธรรมอินเดียอย่างเป็นทางการผ่านการบูชาและค้าพระธาตุ ตลอดไปจนถึงการผลักดันธรรมจักรอันเป็นสัญลักษณ์ของแนวคิดแบบจักรวาทินขึ้นมาที่สัมพันธ์ไปถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอนไว้ 

ในสมัย พ.8-9 ได้ปรากฎหลักฐานที่มีการติดต่อค้าขายตั้งแต่ในยุคสุวรรณภูมิในเมืองอู่ทอง และในเอกสารของจีนที่มีการกล่าวถึง รวมถึงพบหลักฐานทางโบราณคดีอื่น ๆ  ร่วมด้วย

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

สุวรรณภูมิ พระพุทธศาสนา ระบบกษัตริย์ ราชามหากษัตริย์

จำนวนผู้เข้าชม

95

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

29 มี.ค. 2567

การเข้ามาของพระพุทธศาสนาและระบอบราชามหากษัตริย์ในสุวรรณภูมิ

  • การเข้ามาของพระพุทธศาสนาและระบอบราชามหากษัตริย์ในสุวรรณภูมิ
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ศรีศักร วัลลิโภดม

    ชื่อบทความ :
    การเข้ามาของพระพุทธศาสนาและระบอบราชามหากษัตริย์ในสุวรรณภูมิ

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารเมืองโบราณ

    เดือน
    เดือน :
    ตุลาคม-ธันวาคม

    ปี :
    2562

    ปีที่ :
    45

    ฉบับที่ :
    4

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    การติดต่อกันระหว่างดินแดนสุวรรณภูมิและอินเดียในการแลกเปลี่ยนสินค้าถือเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้บริเวณแถบนี้ได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียและนำมาปรับใช้ผสมผสานกับวัฒนธรรมดั้งเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสังคมเมืองจากที่ไม่มีภาษาเป็นของตนเองรวมไปถึงตัวอักษร จึงได้รับภาษาบาลี-สันสกฤต รวมไปถึงวิทยาการและวัฒนธรรมต่าง ๆ  ที่เข้ามาพร้อมกัน สิ่งที่อาจารย์ศรีศักรได้กล่าวเป็นหลักคือศาสนาและการปกครองที่ถูกนักวิชาการต่างชาติมองว่าเป็นการลอกเลียนแบบจากอินเดียอย่างเห็นได้ชัด และดูถูกสติปัญญาของประชากรบริเวณดินแดนสุวรรณภูมิ การเข้ามาติดต่อค้าขายกับสุวรรณภูมิทำให้มีนักบวชเดินทางเข้ามาพร้อมกัน และเป็นส่วนที่เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาและการปกครองระบบราชามหากษัตริย์ให้กับชนชั้นสูงที่มองว่ากษัตริย์ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก และเกิดแนวคิดจักรพรรดิราชขึ้นมา ภายหลังในยุคสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชใน พ.13 ได้มีการนำเข้าวัฒนธรรมอินเดียอย่างเป็นทางการผ่านการบูชาและค้าพระธาตุ ตลอดไปจนถึงการผลักดันธรรมจักรอันเป็นสัญลักษณ์ของแนวคิดแบบจักรวาทินขึ้นมาที่สัมพันธ์ไปถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอนไว้ 

    ในสมัย พ.8-9 ได้ปรากฎหลักฐานที่มีการติดต่อค้าขายตั้งแต่ในยุคสุวรรณภูมิในเมืองอู่ทอง และในเอกสารของจีนที่มีการกล่าวถึง รวมถึงพบหลักฐานทางโบราณคดีอื่น ๆ  ร่วมด้วย

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    สุวรรณภูมิ พระพุทธศาสนา ระบบกษัตริย์ ราชามหากษัตริย์

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 29 มี.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 95