หน้าแรก บทความ สุวรรณภูมิ : วิเคราะห์มิติทางความเชื่อและศาสนา

สุวรรณภูมิ : วิเคราะห์มิติทางความเชื่อและศาสนา

สุวรรณภูมิ : วิเคราะห์มิติทางความเชื่อและศาสนา

ชื่อผู้แต่ง มานพ นักการเรียน และคณะ
วารสาร/นิตยสาร วารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์
เดือน มกราคม - ธันวาคม
ปี 2564
ปีที่ 8
ฉบับที่ 1
ภาษา ภาษาไทย
หัวเรื่อง สุวรรณภูมิ : วิเคราะห์มิติทางความเชื่อและศาสนา

เนื้อหาโดยย่อ

สุวรรณภูมิเป็นดินแดนซึ่งรู้จักกันแพร่หลายในหมู่ชาวอินเดีย ชาวลังกา ชาวจีน และชาวตะวันตก ซึ่งแต่ละชาติเรียกชื่อดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป แต่ล้วนมีความหมายเช่นเดียวกันว่าเป็น “แผ่นดินทอง” ซึ่งหมายถึง“ดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์”ในพุทธศตวรรษที่ 3 สุวรรณภูมิเป็นดินแดนที่มีการเข้าไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา สายที่ 8 นําโดยพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ ได้นําคําสอนทางพระพุทธศาสนาซึ่งเป็นอารยธรรมทางปัญญาที่มีคุณค่าควรแก่การนําไปปฏิบัติ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งให้แก่คนพื้นเมือง ทําให้เกิดการผสมผสานดัดแปลงทั้งความเชื่อดั้งเดิม ศาสนาพราหมณ์ และพระพุทธศาสนาให้กลมกลืนกัน

หลักฐานสำคัญ

สุวรรณภูมิเป็นชื่อเรียกดินแดนที่มีการกล่าวถึงในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ส่วนมากปรากฏในคัมภีร์อรรถกถาชาดกแต่มีปรากฏในคัมภีร์อื่น ๆ ด้วย และทั้งปรากฏในหลักฐานต่างๆทั้งของชาวอินเดีย ชาวลังกา ชาวตะวันตก ชาวอาหรับ และชาวจีน มานานนับพันปี ซึ่งแต่ละชาติเรียกชื่อดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป แต่ก็ล้วนมีความหมายไปในทางเดียวกันว่าเป็น“แผ่นดินทอง”

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

สุวรรณภูมิ พุทธศาสนา

ยุคสมัย

โบราณ

จำนวนผู้เข้าชม

105

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

21 ก.พ. 2567

สุวรรณภูมิ : วิเคราะห์มิติทางความเชื่อและศาสนา

  • สุวรรณภูมิ : วิเคราะห์มิติทางความเชื่อและศาสนา
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    มานพ นักการเรียน และคณะ

    ชื่อบทความ :
    สุวรรณภูมิ : วิเคราะห์มิติทางความเชื่อและศาสนา

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม - ธันวาคม

    ปี :
    2564

    ปีที่ :
    8

    ฉบับที่ :
    1

    ภาษา :
    ภาษาไทย

    หัวเรื่อง :
    สุวรรณภูมิ : วิเคราะห์มิติทางความเชื่อและศาสนา

    เนื้อหาโดยย่อ

    สุวรรณภูมิเป็นดินแดนซึ่งรู้จักกันแพร่หลายในหมู่ชาวอินเดีย ชาวลังกา ชาวจีน และชาวตะวันตก ซึ่งแต่ละชาติเรียกชื่อดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป แต่ล้วนมีความหมายเช่นเดียวกันว่าเป็น “แผ่นดินทอง” ซึ่งหมายถึง“ดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์”ในพุทธศตวรรษที่ 3 สุวรรณภูมิเป็นดินแดนที่มีการเข้าไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา สายที่ 8 นําโดยพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ ได้นําคําสอนทางพระพุทธศาสนาซึ่งเป็นอารยธรรมทางปัญญาที่มีคุณค่าควรแก่การนําไปปฏิบัติ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งให้แก่คนพื้นเมือง ทําให้เกิดการผสมผสานดัดแปลงทั้งความเชื่อดั้งเดิม ศาสนาพราหมณ์ และพระพุทธศาสนาให้กลมกลืนกัน

    หลักฐานสำคัญ

    สุวรรณภูมิเป็นชื่อเรียกดินแดนที่มีการกล่าวถึงในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ส่วนมากปรากฏในคัมภีร์อรรถกถาชาดกแต่มีปรากฏในคัมภีร์อื่น ๆ ด้วย และทั้งปรากฏในหลักฐานต่างๆทั้งของชาวอินเดีย ชาวลังกา ชาวตะวันตก ชาวอาหรับ และชาวจีน มานานนับพันปี ซึ่งแต่ละชาติเรียกชื่อดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป แต่ก็ล้วนมีความหมายไปในทางเดียวกันว่าเป็น“แผ่นดินทอง”


    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    โบราณ

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    สุวรรณภูมิ พุทธศาสนา

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 21 ก.พ. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 105