หน้าแรก บทความ เครื่องดนตรี “วัฒนธรรมกลองสัมฤทธิ์และฆ้อง” ในภูมิภาคอุษาคเนย์

เครื่องดนตรี “วัฒนธรรมกลองสัมฤทธิ์และฆ้อง” ในภูมิภาคอุษาคเนย์

เครื่องดนตรี “วัฒนธรรมกลองสัมฤทธิ์และฆ้อง” ในภูมิภาคอุษาคเนย์

ชื่อผู้แต่ง ภัทรวีร์ เทียนชัยอนันต์
วารสาร/นิตยสาร วารสารดนตรีบ้านสมเด็จฯ
เดือน พฤษภาคม
ปี 2566
ปีที่ 5
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 127-142
ภาษา ไทย
หัวเรื่อง กลองสัมฤทธิ์, ฆ้อง, อุษาคเนย์
หมายเหตุ <p>เป็นบทความที่เขียนโดยผู้สนใจด้านดนตรี จึงมุ่งเน้นไปที่พัฒนาการของเครื่องดนตรีเป็นหลัก</p> <p>โดยอธิบายผ่านวัสดุในการสร้างเครื่องดนตรี และการรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอื่น ๆ</p>

เนื้อหาโดยย่อ

บทความวิชาการเรื่อง เครื่องดนตรีวัฒนธรรมกลองสัมฤทธิ์และฆ้องในภูมิภาคอุษาคเนย์

เขียนขึ้นเพื่อนําเสนอเรื่องราวทางวัฒนธรรมร่วมในอุษาคเนยท์ี่ มีมาตั้งแต่อดีต และเป็นวัฒนธรรมทางดนตรีที่มีความโดดเด่นวัฒนธรรมหนึ่งใน ภูมิภาคอุษาคเนย์ สัมฤทธิ์ (Bronze) คือ โลหะผสมทองแดง ซึ่งมีดีบุกเป็น ส่วนประกอบหลัก เผาที่อุณหภูมิความร้อนประมาณ 1,200 องศาเซลเซียส บางครั้ง มีแร่ธาตุอื่น เป็นส่วนผสมด้วย สัมฤทธิ์เป็นโลหะที่มีความสําคัญมากในสมัยโบราณ จนนักโบราณคดีเรียกยุคยุคหนึ่งในอดีตว่ายุคสัมฤทธิ์

ดนตรีพื้นบ้านในภูมิภาคอุษาคเนย์หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการแปรเปลี่ยนไปตามชาติพันธุ์และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน แต่ยังคงมีลักษณะบางอย่างร่วมกันและสืบทอดกันมา ตั้งแต่ยุคดึกดําบรรพ์ คือ เครื่องดนตรีที่ทําจากไม้ และไม้ไผ่ และเครื่องดนตรีที่ทําจากโลหะ

กลองสัมฤทธิ์และฆ้องเป็นเครื่องดนตรีที่ทําจากโลหะ ที่สามารถพบได้โดยทั่วไปในภูมิภาคอุษาคเนย์ ซึ่งเครื่องดนตรีที่ทําจากโลหะหรือสัมฤทธิ์ในยุคนี้ เป็นการสร้างเลียนแบบเครื่องดนตรีวัฒนธรรมไม้ไผ่ที่มีมาก่อนหน้า เสียงของโลหะที่มีความก้องกังวานในสมัยนั้นถือเป็นเสียงใหม่ที่มี ความยิ่งใหญ่ศักดิ์สิทธิ์ และมีความมหัศจรรย์อย่างที่สุดในสมัยนั้น ดังนั้นเครื่องดนตรีที่ทําจากโลหะจึงมีฐานะทางสังคมสูงมากในสมัยนั้น บทบาท หน้าที่ และ ความสําคัญของกลองสัมฤทธิ์และฆ้องถูกนํามาใช้ในพื้นฐานความคิดดั้งเดิมเดียวกัน ของชาวอุษาคเนย์นั่นคือ สร้างกลองสัมฤทธิ์และฆ้องขึ้นมาเพื่อใช้ในพิธีกรรม

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ยุคสำริด เครื่องดนตรี

ยุคสมัย

ยุคสัมฤทธิ์

จำนวนผู้เข้าชม

175

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

4 ก.พ. 2567

เครื่องดนตรี “วัฒนธรรมกลองสัมฤทธิ์และฆ้อง” ในภูมิภาคอุษาคเนย์

  • เครื่องดนตรี “วัฒนธรรมกลองสัมฤทธิ์และฆ้อง” ในภูมิภาคอุษาคเนย์
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ภัทรวีร์ เทียนชัยอนันต์

    ชื่อบทความ :
    เครื่องดนตรี “วัฒนธรรมกลองสัมฤทธิ์และฆ้อง” ในภูมิภาคอุษาคเนย์

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารดนตรีบ้านสมเด็จฯ

    เดือน
    เดือน :
    พฤษภาคม

    ปี :
    2566

    ปีที่ :
    5

    ฉบับที่ :
    1

    หน้าที่ :
    127-142

    ภาษา :
    ไทย

    หัวเรื่อง :
    กลองสัมฤทธิ์, ฆ้อง, อุษาคเนย์

    หมายเหตุ :

    เป็นบทความที่เขียนโดยผู้สนใจด้านดนตรี จึงมุ่งเน้นไปที่พัฒนาการของเครื่องดนตรีเป็นหลัก

    โดยอธิบายผ่านวัสดุในการสร้างเครื่องดนตรี และการรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอื่น ๆ


    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความวิชาการเรื่อง เครื่องดนตรีวัฒนธรรมกลองสัมฤทธิ์และฆ้องในภูมิภาคอุษาคเนย์

    เขียนขึ้นเพื่อนําเสนอเรื่องราวทางวัฒนธรรมร่วมในอุษาคเนยท์ี่ มีมาตั้งแต่อดีต และเป็นวัฒนธรรมทางดนตรีที่มีความโดดเด่นวัฒนธรรมหนึ่งใน ภูมิภาคอุษาคเนย์ สัมฤทธิ์ (Bronze) คือ โลหะผสมทองแดง ซึ่งมีดีบุกเป็น ส่วนประกอบหลัก เผาที่อุณหภูมิความร้อนประมาณ 1,200 องศาเซลเซียส บางครั้ง มีแร่ธาตุอื่น เป็นส่วนผสมด้วย สัมฤทธิ์เป็นโลหะที่มีความสําคัญมากในสมัยโบราณ จนนักโบราณคดีเรียกยุคยุคหนึ่งในอดีตว่ายุคสัมฤทธิ์

    ดนตรีพื้นบ้านในภูมิภาคอุษาคเนย์หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการแปรเปลี่ยนไปตามชาติพันธุ์และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน แต่ยังคงมีลักษณะบางอย่างร่วมกันและสืบทอดกันมา ตั้งแต่ยุคดึกดําบรรพ์ คือ เครื่องดนตรีที่ทําจากไม้ และไม้ไผ่ และเครื่องดนตรีที่ทําจากโลหะ

    กลองสัมฤทธิ์และฆ้องเป็นเครื่องดนตรีที่ทําจากโลหะ ที่สามารถพบได้โดยทั่วไปในภูมิภาคอุษาคเนย์ ซึ่งเครื่องดนตรีที่ทําจากโลหะหรือสัมฤทธิ์ในยุคนี้ เป็นการสร้างเลียนแบบเครื่องดนตรีวัฒนธรรมไม้ไผ่ที่มีมาก่อนหน้า เสียงของโลหะที่มีความก้องกังวานในสมัยนั้นถือเป็นเสียงใหม่ที่มี ความยิ่งใหญ่ศักดิ์สิทธิ์ และมีความมหัศจรรย์อย่างที่สุดในสมัยนั้น ดังนั้นเครื่องดนตรีที่ทําจากโลหะจึงมีฐานะทางสังคมสูงมากในสมัยนั้น บทบาท หน้าที่ และ ความสําคัญของกลองสัมฤทธิ์และฆ้องถูกนํามาใช้ในพื้นฐานความคิดดั้งเดิมเดียวกัน ของชาวอุษาคเนย์นั่นคือ สร้างกลองสัมฤทธิ์และฆ้องขึ้นมาเพื่อใช้ในพิธีกรรม

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ยุคสัมฤทธิ์

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ยุคสำริด เครื่องดนตรี

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 4 ก.พ. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 175