ชื่อผู้แต่ง | Himanshu Prabha Ray |
วารสาร/นิตยสาร | The Yogyakarta Papers |
เดือน | January |
ปี | 1991 |
ปีที่ | 10 |
ฉบับที่ | 1 |
หน้าที่ | 357-365 |
ภาษา | English |
เส้นทางการเดินเรือจากอ่าวเบงกอล อันเป็นการสำรวจเชิงประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการติดต่อกันระหว่างเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่แสดงให้เห็นถึงการเดินทาง การทำการค้า และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นผ่านเครือข่ายการเดินเรือมายังดินแดนสุวรรณภูมิ เนื่องด้วยปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการที่อินเดียถูกกีดกันทางการค้าจากจักรพรรดิโรมันในเรื่องของทองคำ จนทำให้อินเดียต้องเปิดเส้นทางการค้าใหม่มายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านหลักฐาน โบราณวัตถุที่ค้นพบมากมาย ทั้งในประเทศไทย เวียดนาม หรืออินเดียเองก็ตาม ซึ่งจะชี้ให้เห็นถึงการเจริญรุ่งเรืองในหลาย ๆ ด้านของอินเดีย อันเป็นอิทธิพลหลักต่อการแผ่ขยายมายังดินแดนสุวรณภูมิ ซึ่งจะรวมไปถึงในด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมอีกด้วยเช่นกัน
โดยตัวอย่างหลักฐานที่ค้นพบจากการขุดค้นทางโบราณก็คือลูกปัด คาร์เนเลียน แก้ว งานแกะสลัก เครื่องเทศ ดีบุก งาช้าง หรือวัตถุดิบทางการค้าอีกมายมายเป็นต้น ซึ้งค้นพบจากแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร และหมู่บ้านโบราณจันเสน รวมไปถึงบริเวณแม่น้ำคงคา อีกทั้งด้วยจารึก และวรรณกรรมที่เป็นหลักฐานที่มีลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะศาสนาพุทธ หรือศาสนาฮินดู
เส้นทางการเดินเรือจากอ่าวเบงกอล อันเป็นการสำรวจเชิงประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการติดต่อกันระหว่างเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่แสดงให้เห็นถึงการเดินทาง การทำการค้า และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นผ่านเครือข่ายการเดินเรือมายังดินแดนสุวรรณภูมิ เนื่องด้วยปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการที่อินเดียถูกกีดกันทางการค้าจากจักรพรรดิโรมันในเรื่องของทองคำ จนทำให้อินเดียต้องเปิดเส้นทางการค้าใหม่มายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านหลักฐาน โบราณวัตถุที่ค้นพบมากมาย ทั้งในประเทศไทย เวียดนาม หรืออินเดียเองก็ตาม ซึ่งจะชี้ให้เห็นถึงการเจริญรุ่งเรืองในหลาย ๆ ด้านของอินเดีย อันเป็นอิทธิพลหลักต่อการแผ่ขยายมายังดินแดนสุวรณภูมิ ซึ่งจะรวมไปถึงในด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมอีกด้วยเช่นกัน
โดยตัวอย่างหลักฐานที่ค้นพบจากการขุดค้นทางโบราณก็คือลูกปัด คาร์เนเลียน แก้ว งานแกะสลัก เครื่องเทศ ดีบุก งาช้าง หรือวัตถุดิบทางการค้าอีกมายมายเป็นต้น ซึ้งค้นพบจากแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร และหมู่บ้านโบราณจันเสน รวมไปถึงบริเวณแม่น้ำคงคา อีกทั้งด้วยจารึก และวรรณกรรมที่เป็นหลักฐานที่มีลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะศาสนาพุทธ หรือศาสนาฮินดู