ชื่อผู้แต่ง | กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์ |
วารสาร/นิตยสาร | ดำรงวิชาการ |
เดือน | มกราคม |
ปี | 2551 |
ปีที่ | 7 |
ฉบับที่ | 1 |
หน้าที่ | 4-17 |
ภาษา | ไทย |
หัวเรื่อง | อารยธรรมขอม, กัมพูชา - ประวัติศาสตร์, ลัทธิมาร์กซ์, จิตร ภูมิศักดิ์ |
นักโบราณคดี พยายามอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีตโดยใช้หลักฐานวัตถุทางวัฒนธรรมผ่านกระบวนทางศึกษาทางวิทยาศาสตร์มานาน อย่างไรก็ตามบางครั้งความพยายามในการแปลความหลักฐานทางโบราณคดีและพยายามแวดล้อมทั้งปวง รวมทั้งการพยายามหาคำอธิบายโดยการวิเคราะห์ผ่านเครื่องมือวิทยาศาสตร์ อาจไม่เพียงพอต่อความเข้าใจในกระบวนทางสังคมวัฒนธรรมอันละเอียดอ่อนและซับซ้อนของมนุษย์ในอดีต และทำให้สามารถเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นเหล่านั้นได้อย่างมีชีวิตชีวา
ในบทความนี้ผู้เขียนได้ยกตัวอย่างการใช้ทฤษฎีทางโบราณคดีในการอธิบายการล่มสลายของอาณาจักรเขมรโบราณในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ตามทัศนะคติของจิตร ภูมิศักดิ์ ซึ่งมีมุมมองแบบแนวคิดมาร์กซิสม์ อันทำให้เกิดมุมมองใหม่ที่ทำให้หารอธิบายและตีความเหตุการ์ณและสังคมในอดีตได้อย่างน่าสนใจ
นักโบราณคดี พยายามอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีตโดยใช้หลักฐานวัตถุทางวัฒนธรรมผ่านกระบวนทางศึกษาทางวิทยาศาสตร์มานาน อย่างไรก็ตามบางครั้งความพยายามในการแปลความหลักฐานทางโบราณคดีและพยายามแวดล้อมทั้งปวง รวมทั้งการพยายามหาคำอธิบายโดยการวิเคราะห์ผ่านเครื่องมือวิทยาศาสตร์ อาจไม่เพียงพอต่อความเข้าใจในกระบวนทางสังคมวัฒนธรรมอันละเอียดอ่อนและซับซ้อนของมนุษย์ในอดีต และทำให้สามารถเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นเหล่านั้นได้อย่างมีชีวิตชีวา
ในบทความนี้ผู้เขียนได้ยกตัวอย่างการใช้ทฤษฎีทางโบราณคดีในการอธิบายการล่มสลายของอาณาจักรเขมรโบราณในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ตามทัศนะคติของจิตร ภูมิศักดิ์ ซึ่งมีมุมมองแบบแนวคิดมาร์กซิสม์ อันทำให้เกิดมุมมองใหม่ที่ทำให้หารอธิบายและตีความเหตุการ์ณและสังคมในอดีตได้อย่างน่าสนใจ