หน้าแรก บทความ วิถีการค้าบนเส้นทางสุวรรณภูมิ

วิถีการค้าบนเส้นทางสุวรรณภูมิ

วิถีการค้าบนเส้นทางสุวรรณภูมิ

ชื่อผู้แต่ง พีระวัฒน์ ฉัตรไทยแส และ สุระ พิริยะสงวนพงศ์
วารสาร/นิตยสาร วารสารธรรมเพื่อชีวิต
เดือน ตุลาคม - ธันวาคม
ปี 2566
ปีที่ 29
ฉบับที่ 4
หน้าที่ 45 - 59
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

ว่าด้วยเรื่องการค้าในดินแดนสุวรรณภูมิ ที่สุวรรณภูมิเป็นชุมทางการค้าสําคัญของโลกที่เชื่อมอารยธรรมจากตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันบริบทภายใต้การเชื่อมโยงกันของประเทศต่างๆ ในโลก ที่มีการติดต่อค้าขาย เป็นเหตุมาการภูมิยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ที่มีการกล่าวถึงและอธิบายพื้นที่ดินแดนสุวรรณภูมิ ว่าคือ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นประเทศต่างๆ ได้แก่ มาเลเซีย, ไทย, พม่า, กัมพูชา, เวียดนาม, ลาวส่วนทางด้านวัฒนธรรมโบราณสุวรรณภูมิเป็นดินแดนกว้างไกลถึงทางใต้ของจีน ซึ่งเป็นเรื่องของภูมิศาสตร์ที่สำคัญทำให้การค้าขายในดินแดนมีความสำคัญอย่างมาก และเป็นชุมชนการค้าที่สำคัญ จึงกล่าวได้ว่าภูมิศาสตร์ของสุวรรณภูมิคือ เส้นทางสายไหมทางทะเลนั่นเอง

จำนวนผู้เข้าชม

92

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

24 ม.ค. 2567

วิถีการค้าบนเส้นทางสุวรรณภูมิ

  • วิถีการค้าบนเส้นทางสุวรรณภูมิ
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    พีระวัฒน์ ฉัตรไทยแส และ สุระ พิริยะสงวนพงศ์

    ชื่อบทความ :
    วิถีการค้าบนเส้นทางสุวรรณภูมิ

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารธรรมเพื่อชีวิต

    เดือน
    เดือน :
    ตุลาคม - ธันวาคม

    ปี :
    2566

    ปีที่ :
    29

    ฉบับที่ :
    4

    หน้าที่ :
    45 - 59

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    ว่าด้วยเรื่องการค้าในดินแดนสุวรรณภูมิ ที่สุวรรณภูมิเป็นชุมทางการค้าสําคัญของโลกที่เชื่อมอารยธรรมจากตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันบริบทภายใต้การเชื่อมโยงกันของประเทศต่างๆ ในโลก ที่มีการติดต่อค้าขาย เป็นเหตุมาการภูมิยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ที่มีการกล่าวถึงและอธิบายพื้นที่ดินแดนสุวรรณภูมิ ว่าคือ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นประเทศต่างๆ ได้แก่ มาเลเซีย, ไทย, พม่า, กัมพูชา, เวียดนาม, ลาวส่วนทางด้านวัฒนธรรมโบราณสุวรรณภูมิเป็นดินแดนกว้างไกลถึงทางใต้ของจีน ซึ่งเป็นเรื่องของภูมิศาสตร์ที่สำคัญทำให้การค้าขายในดินแดนมีความสำคัญอย่างมาก และเป็นชุมชนการค้าที่สำคัญ จึงกล่าวได้ว่าภูมิศาสตร์ของสุวรรณภูมิคือ เส้นทางสายไหมทางทะเลนั่นเอง

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 24 ม.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 92