หน้าแรก บทความ จินตกรรมและจินตนาการผ่านวัตถุสิ่งของ “สุวรรณภูมิ”

จินตกรรมและจินตนาการผ่านวัตถุสิ่งของ “สุวรรณภูมิ”

จินตกรรมและจินตนาการผ่านวัตถุสิ่งของ “สุวรรณภูมิ”

ชื่อผู้แต่ง พจนก กาญจนจันทร
วารสาร/นิตยสาร 25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
หน้าที่ 9
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

โบราณวัตถุที่นำมาจัดแสดงในนิทรรศการ “จินตกรรม-จินตนาการ สุวรรณภูมิ” ในโอกาสครบรอบ 25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ รวมถึงภาพถ่ายโบราณวัตถุอีกส่วนหนึ่งซึ่งตีพิมพ์ในที่นี้ เป็นโบราณวัตถุที่พบใน “สุวรรณภูมิ” มีอายุย้อนหลังไปกว่าสองพันปีเป็นต้นมา คณะทำงานได้คัดเลือกเฉพาะวัตถุชิ้นสำคัญบางชิ้น จากคลังสะสมส่วนบุคคล ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรุ่งเรือง-มั่งคั่งทางวัฒนธรรมของดินแดน “สุวรรณภูมิ” อาทิ รูปเคารพที่ทำจากทองคำ จากเวียดนามตอนใต้ บริเวณปากแม่น้ำโขง ที่แสดงให้เห็นถึงการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมพื้นถิ่น กับวัฒนธรรมเอเชียใต้ที่เข้ามามีอิทธิพลและเจริญรุ่งเรืองมากอย่างน้อยตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 11 เป็นต้นมา, เครื่องสำริดสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่มีลักษณะของวัฒนธรรมดองเซิน (Đông Sơn Culture) ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ในเวียดนามเหนือ แต่พบในประเทศกัมพูชา นอกจากนั้น ยังมีโบราณวัตถุอื่นๆ ที่แสดงถึงเครือข่ายการติดต่อแลกเปลี่ยนภายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และกับเอเชียใต้ ที่แสดงถึงรสนิยมการบริโภคสินค้าฟุ่มเฟือยได้ส่งต่อกันไปเป็นทอดๆ ทั้งในรูปของวัตถุสำเร็จรูป หรือในรูปของวัตถุดิบและเทคโนโลยีการผลิต

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

สุวรรณภูมิ พิพิธภัณฑ์ จินตกรรม Đông Sơn Culture

จำนวนผู้เข้าชม

68

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

20 ม.ค. 2567

จินตกรรมและจินตนาการผ่านวัตถุสิ่งของ “สุวรรณภูมิ”

  • จินตกรรมและจินตนาการผ่านวัตถุสิ่งของ “สุวรรณภูมิ”
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    พจนก กาญจนจันทร

    ชื่อบทความ :
    จินตกรรมและจินตนาการผ่านวัตถุสิ่งของ “สุวรรณภูมิ”

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

    หน้าที่ :
    9

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    โบราณวัตถุที่นำมาจัดแสดงในนิทรรศการ “จินตกรรม-จินตนาการ สุวรรณภูมิ” ในโอกาสครบรอบ 25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ รวมถึงภาพถ่ายโบราณวัตถุอีกส่วนหนึ่งซึ่งตีพิมพ์ในที่นี้ เป็นโบราณวัตถุที่พบใน “สุวรรณภูมิ” มีอายุย้อนหลังไปกว่าสองพันปีเป็นต้นมา คณะทำงานได้คัดเลือกเฉพาะวัตถุชิ้นสำคัญบางชิ้น จากคลังสะสมส่วนบุคคล ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรุ่งเรือง-มั่งคั่งทางวัฒนธรรมของดินแดน “สุวรรณภูมิ” อาทิ รูปเคารพที่ทำจากทองคำ จากเวียดนามตอนใต้ บริเวณปากแม่น้ำโขง ที่แสดงให้เห็นถึงการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมพื้นถิ่น กับวัฒนธรรมเอเชียใต้ที่เข้ามามีอิทธิพลและเจริญรุ่งเรืองมากอย่างน้อยตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 11 เป็นต้นมา, เครื่องสำริดสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่มีลักษณะของวัฒนธรรมดองเซิน (Đông Sơn Culture) ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ในเวียดนามเหนือ แต่พบในประเทศกัมพูชา นอกจากนั้น ยังมีโบราณวัตถุอื่นๆ ที่แสดงถึงเครือข่ายการติดต่อแลกเปลี่ยนภายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และกับเอเชียใต้ ที่แสดงถึงรสนิยมการบริโภคสินค้าฟุ่มเฟือยได้ส่งต่อกันไปเป็นทอดๆ ทั้งในรูปของวัตถุสำเร็จรูป หรือในรูปของวัตถุดิบและเทคโนโลยีการผลิต

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    สุวรรณภูมิ พิพิธภัณฑ์ จินตกรรม Đông Sơn Culture

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 20 ม.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 68