ที่ตั้ง | ตำบลท่าหิน อำเภออำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี |
พิกัด | 14.8011729576 N, 100.615491982 E |
อายุสมัย | ระหว่าง ปี พ.ศ. 1601 ถึง 1700 |
แหล่งน้ำสำคัญ | แม่น้ำลพบุรี |
คำสำคัญ/ป้ายกำกับ | จังหวัดลพบุรี คนแบก สมเด็จพระนารายณ์ |
แกลเลอรี |
|
ชื่อแหล่ง : | วัดนครโกษา |
ที่ตั้ง : | ตำบลท่าหิน อำเภออำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี |
พิกัด : | 14.8011729576 N, 100.615491982 E |
อายุสมัย : | ระหว่าง ปี พ.ศ. 1601 ถึง 1700 |
แหล่งน้ำสำคัญ : | แม่น้ำลพบุรี |
คำสำคัญ/ป้ายกำกับ : | จังหวัดลพบุรี คนแบก สมเด็จพระนารายณ์ |
ยุคสมัย : | อยุธยา ทวารวดี |
วันที่เผยแพร่ข้อมูล : | 27 ต.ค. 2565 |
- ค.ศ.1936 (พ.ศ.2479) วัดนครโกษาได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญสำหรับชาติเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม
- ค.ศ.1986-1987 (พ.ศ.2529-2530) กรมศิลปากรทำการขุดแต่งที่ฐานเจดีย์องค์ใหญ่ ได้พบประติมมากรรมในสมัยทวารวดี เช่น พระพุทธรูป รูปบุคคลยักษ์ ลวดลายประกอบสถานปัตยกรรม และพระพิมพ์ดินเผา และได้รวบรวมเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์
วัดนครโกษานั้นส่วนฐานเดิมสร้างขึ้นในสมัยทวารวดีเนื่องจากพบว่าพบรูปคนแบกซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะที่พบได้ตามโบราณสถานในช่วงทวารวดี ในส่วนของอาคารคือพระอุโบสถ สร้างในสมัยสมเด็จพระนายณ์มหาราช และมีข้อสันนิษฐานว่าสร้างโดยเจ้าพระยาโกษาธิบดี(เหล็ก) จึงได้ชื่อว่า "วัดนครโกษา"
พรหมศักดิ์ เจิมสวัสดิ์ และนายฉลวย จารุภานานนท์. ปูนปั้นสมัยทวารวดีที่วัดนครโกษา อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สมาพันธุ์ 2531.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. ลพบุรีหลังวัฒนธรรมเขมร. กรุงเทพฯ : มติชน 2557.