ที่ตั้ง | อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี |
พิกัด | 13.456 N, 101.184 E |
อายุสมัย | ระหว่าง 4,500 ถึง 2,700 ปีมาแล้ว |
แหล่งน้ำสำคัญ | |
คำสำคัญ/ป้ายกำกับ | หลุมฝังศพ จังหวัดปราจีนบุรี แหล่งโบราณคดีหนองโน กระดูกสัตว์ พื้นที่ชายฝั่งทะเล |
แกลเลอรี |
|
ชื่อแหล่ง : | หนองโน |
ที่ตั้ง : | อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี |
พิกัด : | 13.456 N, 101.184 E |
อายุสมัย : | ระหว่าง 4,500 ถึง 2,700 ปีมาแล้ว |
แหล่งน้ำสำคัญ : | |
คำสำคัญ/ป้ายกำกับ : | หลุมฝังศพ จังหวัดปราจีนบุรี แหล่งโบราณคดีหนองโน กระดูกสัตว์ พื้นที่ชายฝั่งทะเล |
ยุคสมัย : | ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคสำริด |
วันที่เผยแพร่ข้อมูล : | 20 ก.พ. 2566 |
- ค.ศ. 1991-1993 (พ.ศ.2534-2536): เกิดการขุดค้นทางโบราณคดีขึ้นในแหล่งโบราณคดีหนองโน
จากการศึกษาทางโบราณคดีพบว่าแหล่งโบราณคดีหนองโนพบการใช้พื้นที่ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ 2 สมัย
1. สมัยแรกคือกลุ่มคนที่หาอาหารจากธรรมชาติ ทั้งการจับสัตว์น้ำและหาของป่าล่าสัตว์ แต่ยังไม่พบร่องรอยของการเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ ณ ช่วงเวลานี้ โดยมีการพบกระดูกสัตว์เป็นจำนวนมากทั้ง กระดูกปลาโลมา ปลาฉลาม ปลาพันธ์อื่นๆหลายชนิด และเปลือกหอยทะเลกว่า 6 ล้านฝา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นหอยตลับ
2. สมัยที่สองพบว่าเป็นการใช้พื้นที่ภายหลังการถูกทิ้งร้างในสมัยแรกกว่า 1,000 ปีจนกระทั่งราว 3,100-2,700 ปีมาแล้ว ได้มีกลุ่มคนสมัยสำริดเข้ามาใช้พื้นที่สำหรับการใช้เป็นสุสานสำหรับฝังศพมนุษย์ สำหรับการใช้พื้นที่ในช่วงสมัยที่สองนั้น พบว่ามีการเพาะปลูกและนำแกลบข้าวมาผสมเป็นส่วนผสมของภาชนะดินเผา รวมทั้งรู้จักการเลี้ยงสัตว์ และติดต่อกับชุมชนภายนอก