หน้าแรก บทความ รูปแบบแผนผังปราสาทเขมรสมัยบาปวน และการสืบเนื่องในสมัยนครวัด: ประเด็นการศึกษา จากปราสาทพระวิหารและปราสาทหินพิมาย

รูปแบบแผนผังปราสาทเขมรสมัยบาปวน และการสืบเนื่องในสมัยนครวัด: ประเด็นการศึกษา จากปราสาทพระวิหารและปราสาทหินพิมาย

รูปแบบแผนผังปราสาทเขมรสมัยบาปวน และการสืบเนื่องในสมัยนครวัด: ประเด็นการศึกษา จากปราสาทพระวิหารและปราสาทหินพิมาย

ชื่อผู้แต่ง วรรณวิภา สุเนต์ตา
วารสาร/นิตยสาร ดำรงวิชาการ
เดือน มกราคม-มิถุนายน
ปี 2553
ปีที่ 9
ฉบับที่ 1
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

บทความนี้นำเสนอความสัมพันธ์ด้านรูปแบบสถาปัตยกรรมของปราสาทพระวิหาร ศาสนสถานแบบบาปวนที่สถาปนาขึ้นในช่วงครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 16 บนเทือกเขาพนมดงรักบริเวณพรมแดนติดต่อระหว่างประเทศกัมพูชาและประเทศไทยในปัจจุบัน ซึ่งพบว่าเป็นต้นแบบสำคัญให้กับการพัฒนาสัดส่วนและแผนผังของปราสาทหินพิมายที่สถาปนาขึ้นต่อมาในดินแดนไทย

พัฒนาการด้านรูปแบบและแผนผังปราสาทดังกล่าวอาจเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดรูปแบบศิลปกรรมภายในภูมิภาค อย่างไรก็ตามข้อสันนิษฐานนี้จำเป็นต้องมีการศึกษาด้านโบราณคดีและมานุษยวิทยาเพิ่มเติม เพื่อช่วยอธิบายความสัมพันธ์ของชุมชนอารยธรรมเขมรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยให้ชัดเจนยิ่งขึ้น

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ศิลปกรรม ปราสาทเขมร ปราสาทพระวิหาร

จำนวนผู้เข้าชม

73

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

26 พ.ค. 2567

รูปแบบแผนผังปราสาทเขมรสมัยบาปวน และการสืบเนื่องในสมัยนครวัด: ประเด็นการศึกษา จากปราสาทพระวิหารและปราสาทหินพิมาย

  • รูปแบบแผนผังปราสาทเขมรสมัยบาปวน และการสืบเนื่องในสมัยนครวัด: ประเด็นการศึกษา จากปราสาทพระวิหารและปราสาทหินพิมาย
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    วรรณวิภา สุเนต์ตา

    ชื่อบทความ :
    รูปแบบแผนผังปราสาทเขมรสมัยบาปวน และการสืบเนื่องในสมัยนครวัด: ประเด็นการศึกษา จากปราสาทพระวิหารและปราสาทหินพิมาย

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    ดำรงวิชาการ

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม-มิถุนายน

    ปี :
    2553

    ปีที่ :
    9

    ฉบับที่ :
    1

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความนี้นำเสนอความสัมพันธ์ด้านรูปแบบสถาปัตยกรรมของปราสาทพระวิหาร ศาสนสถานแบบบาปวนที่สถาปนาขึ้นในช่วงครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 16 บนเทือกเขาพนมดงรักบริเวณพรมแดนติดต่อระหว่างประเทศกัมพูชาและประเทศไทยในปัจจุบัน ซึ่งพบว่าเป็นต้นแบบสำคัญให้กับการพัฒนาสัดส่วนและแผนผังของปราสาทหินพิมายที่สถาปนาขึ้นต่อมาในดินแดนไทย

    พัฒนาการด้านรูปแบบและแผนผังปราสาทดังกล่าวอาจเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดรูปแบบศิลปกรรมภายในภูมิภาค อย่างไรก็ตามข้อสันนิษฐานนี้จำเป็นต้องมีการศึกษาด้านโบราณคดีและมานุษยวิทยาเพิ่มเติม เพื่อช่วยอธิบายความสัมพันธ์ของชุมชนอารยธรรมเขมรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยให้ชัดเจนยิ่งขึ้น

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ศิลปกรรม ปราสาทเขมร ปราสาทพระวิหาร

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 26 พ.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 73