หน้าแรก บทความ นิทานสันกฤตที่อ้างถึงเรื่องสุวรรณภูมิ

นิทานสันกฤตที่อ้างถึงเรื่องสุวรรณภูมิ

นิทานสันกฤตที่อ้างถึงเรื่องสุวรรณภูมิ

ชื่อผู้แต่ง สยาม ภัทรานุประวัติ และนาวิน โบษกรนัฏ
วารสาร/นิตยสาร วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม
ปี 2563
ปีที่ 20
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 53-81
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

มุมมองสำคัญที่ชาวอินเดียมีต่อสุวรรณภูมิ จากการรับรู้มาอย่างยาวนาน ผ่านวรรณคดีสันสกฤตประเภทนิทานที่เขียนขึ้นในอินเดีย และเป็นหลักฐานที่ชี้ให้เห็นชัดถึงดินแดนสุวรรณภูมิ โดยจะอภิปรายหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรนี้ผ่านการแปลจากสันสกฤตเป็นไทย พร้อมทั้งวิเคราะห์บริบทของเรื่องเหล่านั้นจากนิทานสันสกฤต 11 เรื่องที่อ้างถึงสุวรรณภูมิและสุวรรณทวีป อันได้แก่ เรื่องสุปารคชาดกในชาดกมาลา เรื่องสานุทาสและพ่อค้าสองคนในพฤหัตกถาโศลกสังครหะ เรื่องเจ้าหญิงสองพระองค์ นางอนงค์ประภา พระราชารัตนาธิบดี พราหมณ์จันทรสวามิน พ่อค้าจักระ พ่อค้ารุทระและสมุทรศูร เรื่องอีศวรวรรมันและเรื่องทีรฆทรรศินในกถาสริตสาคร ซึ่งนิทานสันสกฤตจะชี้ให้เห็นว่าเรื่องสุวรรณภูมิในนิทานเหล่านี้ แสดงร่องรอยของพุทธศาสนาที่เคยรุ่งเรืองในอินเดียเหนือทําให้เรื่องสุวรรณภูมิปรากฏในนิทานสันสกฤตซึ่งเป็นของศาสนาฮินดูซึ่งแพร่หลายในอินเดียเหนือด้วยโลกทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับสุวรรณภูมิ โดยในนิทานสันสกฤตแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นสําคัญได้แก่สุวรรณภูมิในฐานะดินแดนอันตรายแต่มั่งคั่ง และสุวรรณภูมิในฐานะดินแดนมหัศจรรย์

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

India สุวรรณภูมิ พุทธศาสนา นิทาน สันสกฤต ศาสนาฮินดู

ยุคสมัย

ราชวงศ์คุปตะ

จำนวนผู้เข้าชม

53

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

4 ก.พ. 2567

นิทานสันกฤตที่อ้างถึงเรื่องสุวรรณภูมิ

  • นิทานสันกฤตที่อ้างถึงเรื่องสุวรรณภูมิ
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    สยาม ภัทรานุประวัติ และนาวิน โบษกรนัฏ

    ชื่อบทความ :
    นิทานสันกฤตที่อ้างถึงเรื่องสุวรรณภูมิ

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    เดือน
    เดือน :
    กรกฎาคม - ธันวาคม

    ปี :
    2563

    ปีที่ :
    20

    ฉบับที่ :
    2

    หน้าที่ :
    53-81

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    มุมมองสำคัญที่ชาวอินเดียมีต่อสุวรรณภูมิ จากการรับรู้มาอย่างยาวนาน ผ่านวรรณคดีสันสกฤตประเภทนิทานที่เขียนขึ้นในอินเดีย และเป็นหลักฐานที่ชี้ให้เห็นชัดถึงดินแดนสุวรรณภูมิ โดยจะอภิปรายหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรนี้ผ่านการแปลจากสันสกฤตเป็นไทย พร้อมทั้งวิเคราะห์บริบทของเรื่องเหล่านั้นจากนิทานสันสกฤต 11 เรื่องที่อ้างถึงสุวรรณภูมิและสุวรรณทวีป อันได้แก่ เรื่องสุปารคชาดกในชาดกมาลา เรื่องสานุทาสและพ่อค้าสองคนในพฤหัตกถาโศลกสังครหะ เรื่องเจ้าหญิงสองพระองค์ นางอนงค์ประภา พระราชารัตนาธิบดี พราหมณ์จันทรสวามิน พ่อค้าจักระ พ่อค้ารุทระและสมุทรศูร เรื่องอีศวรวรรมันและเรื่องทีรฆทรรศินในกถาสริตสาคร ซึ่งนิทานสันสกฤตจะชี้ให้เห็นว่าเรื่องสุวรรณภูมิในนิทานเหล่านี้ แสดงร่องรอยของพุทธศาสนาที่เคยรุ่งเรืองในอินเดียเหนือทําให้เรื่องสุวรรณภูมิปรากฏในนิทานสันสกฤตซึ่งเป็นของศาสนาฮินดูซึ่งแพร่หลายในอินเดียเหนือด้วยโลกทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับสุวรรณภูมิ โดยในนิทานสันสกฤตแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นสําคัญได้แก่สุวรรณภูมิในฐานะดินแดนอันตรายแต่มั่งคั่ง และสุวรรณภูมิในฐานะดินแดนมหัศจรรย์

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ราชวงศ์คุปตะ

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    India สุวรรณภูมิ พุทธศาสนา นิทาน สันสกฤต ศาสนาฮินดู

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 4 ก.พ. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 53