Google Translate
จัดทำโดย สถาบันสุวรรณภูมิศึกษา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, และศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ (SPAFA)
สารบัญ
คำนำผู้อำนวยการสถาบันสุวรรณภูมิศึกษา
คำนำบรรณาธิการ
สารบัญ
1. ภาพรวมสุวรรณภูมิ
สุวรรณภูมิ คุณค่า 5 มิติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวลิต ขาวเขียว
“การสร้างองค์ความรู้ คุณค่า สุวรรณภูมิศึกษา เพื่ออนาคต”
รากเหง้า ตัวตน ภูมิปัญญา สุวรรณภูมิ
รองศาสตราจารย์ ดร.สฤษดิ์พงศ์ ขุนทรง
2. องค์ความรู้เชิงลึก
- คน -
ผู้คน ภาษา ในดินแดนสุวรรณภูมิ จากหลักฐานจารึกสำคัญในดินแดนสุวรรณภูมิ
อาจารย์.ดร.อุเทน วงศ์สถิตย์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวล คัชชิมา
ไขความลับของผู้คนสุวรรณภูมิด้วยรหัสทางพันธุกรรม
รองศาสตราจารย์ ดร.วิภู กุตะนันท์
ความหลากหลายของผู้คนบนดินแดนไทย มุมมองทางมานุษยวิทยากายภาพและโบราณคดีเชิงชีววิทยา
อาจารย์ ดร.นฤพล หวังธงชัยเจริญ
- วัตถุและเทคโนโลยี -
เครื่องประดับในดินแดนสุวรรณภูมิ
อาจารย์ ดร.ผุสดี รอดเจริญ
โบราณโลหะวิทยาของทองแดง สำริด และเหล็ก
ในช่วงปลายของยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศไทย
อาจารย์ ดร.ภีร์ เวณุนันทน์
สุวรรณภูมิ ดินแดนทองคำ: ข้อมูลเบื้องต้นจากการศึกษาทองคำโบราณที่พบในบริเวณคอคอดกระ
รศ.ดร.สาโรช รุจิวรรธน์ และคณะผู้วิจัย
3. การศึกษา
ปัญหาของประวัติศาสตร์สุวรรณภูมิในตำราเรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิพัฒน์ กระแจะจันทร์
บุกเบิกพรมแดนความรู้สู่การพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของไทย: บทเรียนจากนานาชาติ
ดร.เฉลิมชัย พันธ์เลิศ