หน้าแรก วิทยานิพนธ์ หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศไทยที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับเอเชียตะวันตกก่อนพุทธศตวรรษที่ 16

หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศไทยที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับเอเชียตะวันตกก่อนพุทธศตวรรษที่ 16

หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศไทยที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับเอเชียตะวันตกก่อนพุทธศตวรรษที่ 16

ผู้เขียน วันวิสาข์ ธรรมานนท์
ชื่อวิทยานิพนธ์ หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศไทยที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับเอเชียตะวันตกก่อนพุทธศตวรรษที่ 16
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะ บัณฑิตวิทยาลัย
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาเอก
ปี 2555 ()
จำนวนหน้า 384
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

 

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

 

กิตติกรรมประกาศ

 

สารบัญตาราง

 

สารบัญภาพ

 

สารบัญแผนภูมิ

 

สารบัญแผนที่

 

บทที่ 1 บทนำ

 - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

 - ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

 - ประโยชน์ของการศึกษา

 - ขอบเขตการศึกษา

 - ขั้นตอนการศึกษา

 - วิธีการศึกษา

 

บทที่ 2 หลักฐานเอกสาร การสำรวจ และขุคค้นทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับเอเชียตะวันตก

 - ภูมิหลังเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การค้าของเอเชียตะวันตก

 - หลักฐานทางเอกสารที่สัมพันธ์กับเอเชียตะวันตก

   - วรรณกรรมของอาหรับ

   - วรรณกรรมของกรีก-โรมัน

   - วรรณกรรมจีน

 - หลักฐานจากการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดี

   - แหล่งโบราณคดีซีราฟ

   - แหล่งโบราณคดีบันภอร์

   - แหล่งโบราณคดีมันไต

   - แหล่งโบราณคดีอนุราธปุระ

   - แหล่งโบราณคดีในตอนใต้รัฐเคดะห์

   - แหล่งเรือจมเบลิตุง

   - แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก

   - แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์

   - แหล่งโบราณคดีนางย่อน

   - แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

   - แหล่งโบราณคดีเมืองศรีมโหสถ

   - แหล่งโบราณคดีดงแม่นางเมือง

   - แหล่งโบราณคดียะรัง

   - แหล่งโบราณคดีเมืองโบราณอู่ทอง

   - แหล่งโบราณคดีคูบัว

   - แหล่งโบราณคดีวัดมหาธาตุ

   - แหล่งโบราณคดีเมืองพระรถ

 - สรุป

 

บทที่ 3 การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่เกี่ยวเนื่องกับเอเชียตะวันตกที่พบในประเทศไทยด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์

 - ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่พบในประเทสไทยด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์

   - การวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด  

     - การวิเคราะห์น้ำเคลือบของภาชนะดินเผาแบบฟ้า-เขียว

       - ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของน้ำเคลือบ

         - การวิเคราะห์ชนิดของน้ำเคลือบ

   - การวิเคราะห์น้ำเคลือบของภาชนะดินเผาแบบเคลือบความมันเงา

     - ผลวิเคราะห์น้ำเคลือบและสี

   - การวิเคราะห์เศษภาชนะแก้ว

     - ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของชิ้นส่วนแก้ว

       - การวิเคราะห์ชนิดของแก้ว

   - การวิเคราะห์เศษภาชนะแก้วลายเขียนสี

     - ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของภาชนะแก้วลายเขียนสี

       - ผลการเปรียบเทียบปริมาณองค์ประกอบธาตุของสีในตัวอย่างแก้วเขียนสี

   - การศึกษาองค์ประกอบเนื้อดินด้วยวิธีศิลาวรรณา

     - ผลการวิเคราะห์เนื้อดินด้วยวิธีศิลาวรรณา

       - ผลการวิเคราะห์ชั้นน้ำเคลือบด้วยวิธีศิลาวรรณา

   - การวิเคราะห์ด้วยเทคนิด Particle Induced X-ray Emission (PIXE)

 - ส่วนที่ 2 ข้อมูลองค์ประกอบทางเคมีของโบราณวัตถุจากต่างประเทศ

   - องค์ประกอบทางเคมีของน้ำเคลือบภาชนะแบบฟ้า-เขียวในแหล่งโบราณคดีต่างประเทศ

     - แหล่งโบราณคดีเวห์ อัสดาซีร์ ประเทศอิรัค

     - แหล่งโบราณคดีบริเวณอ่าวเปอร์เซีย

   - องค์ประกอบทางเคมีของน้ำเคลือบเครื่องถ้วยจีนแบบ Fahua ที่มีการเคลือบแบบฟ้า-เขียว

   - องค์ประกอบทางเคมีของน้ำเคลือบภาชนะแบบเคลือบความมันเงาในแหล่งโบราณคดีต่างประเทศ

   - องค์ประกอบทางเคมีของชิ้นส่วนภาชนะแก้วในแหล่งโบราณคดีต่างประเทศ

     - แหล่งโบราณคดีเปงกาลัน บูจัง ประเทศมาเลเซีย

     - แหล่งโบราณคดีเมืองสเตซิฟอน

     - แหล่งโบราณคดีในเอเชียตะวันตกสมัยอิสลาม

     - แหล่งโบราณคดีรายา คาบสมุทรซีนาย ประเทศอียิปต์

     - แหล่งโบราณคดีเมืองรัฆฆา ประเทสซีเรีย

     - หลุมศพเจ้าหญิงเชงกัว มองโกเลียตอนใน

     - สถูปวัดดูเล เทียนจิน ประเทศจีน

   - องค์ประกอบทางเคมีของชิ้นส่วนภาชนะแก้วเขียนสีในแหล่งโบราณคดีต่างประเทศ

     - แหล่งโบราณคดีในเอเชียตะวันตกสมัยอิสลาม

     - แหล่งโบราณคดีรายา คาบสมุทรซีนาย ประเทศอียิปต์

   - องค์ประกอบทางเคมีของเหรียญกษาปณ์เปอร์เซียที่พบในต่างประเทศ

 - ส่วนที่ 3 การเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์โบราณวัตถุกับต่างประเทศ

   - ผลการเปรียบเทียบภาชนะดินเผาแบบฟ้า-เขียวกับต่างประเทศ

     - สรุปผลการวิเคราะห์น้ำเคลือบและเนื้อดินของภาชนะดินเผาแบบฟ้า-เขียว

   - ผลการเปรียบเทียบน้ำเคลือบและสีที่เขียนบนภาชนะแบบเคลือบความมันเงากับต่างประเทศ

   - การวิเคราะห์ถิ่นกำเนิดของแก้วและความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

   - การวิเคราะห์ถิ่นกำเนิดของแก้วเขียนสีและความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

   - การวิเคราะห์และเปรียบเทียบเหรียญเงินสมัยซัสซาเนี่ยนกับต่างประเทศ

 

บทที่ 4 ผลการศึกษา

 - สินค้า

 - พ่อค้า

 - เส้นทางการค้า

 - เส้นทางการแพร่กระจายสิ้นค้าจากเมืองท่าสู่แผ่นดินใหญ่

 

บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ

 - สรุปผลการศึกษา

 - ข้อเสนอแนะ

 

รายการอ้างอิง

 

ประวัติผู้วิจัย 

 

 

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร และฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thai Digital Collection)

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

เอเชียตะวันตก อาหรับ การวิเคราะห์โบราณวัตถุด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ แก้ว ภาชนะแก้ว วิธีศิลาวรรณา อิเล็กตรอนแบบส่องกราด PIXE Particle Induced X-ray Emission Fahua เปอร์เซีย เศษภาชนะดินเผาที่เคลือบสีฟ้า-เขียว เศษภาชนะดินเผาที่เคลือบสีเทอคอยซ์ เครื่องถ้วยแบบบาสรา เปอร์เชีย ศรีลังกา

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ศรีวิชัย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง

จำนวนผู้เข้าชม

186

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

25 ก.พ. 2566

หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศไทยที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับเอเชียตะวันตกก่อนพุทธศตวรรษที่ 16

  • หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศไทยที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับเอเชียตะวันตกก่อนพุทธศตวรรษที่ 16
  • ผู้เขียน
    วันวิสาข์ ธรรมานนท์

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศไทยที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับเอเชียตะวันตกก่อนพุทธศตวรรษที่ 16

    มหาวิทยาลัย
    มหาวิทยาลัยศิลปากร

    คณะ
    บัณฑิตวิทยาลัย

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาเอก

    ปี
    2555 ()

    จำนวนหน้า
    384

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

     

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

     

    กิตติกรรมประกาศ

     

    สารบัญตาราง

     

    สารบัญภาพ

     

    สารบัญแผนภูมิ

     

    สารบัญแผนที่

     

    บทที่ 1 บทนำ

     - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

     - ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

     - ประโยชน์ของการศึกษา

     - ขอบเขตการศึกษา

     - ขั้นตอนการศึกษา

     - วิธีการศึกษา

     

    บทที่ 2 หลักฐานเอกสาร การสำรวจ และขุคค้นทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับเอเชียตะวันตก

     - ภูมิหลังเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การค้าของเอเชียตะวันตก

     - หลักฐานทางเอกสารที่สัมพันธ์กับเอเชียตะวันตก

       - วรรณกรรมของอาหรับ

       - วรรณกรรมของกรีก-โรมัน

       - วรรณกรรมจีน

     - หลักฐานจากการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดี

       - แหล่งโบราณคดีซีราฟ

       - แหล่งโบราณคดีบันภอร์

       - แหล่งโบราณคดีมันไต

       - แหล่งโบราณคดีอนุราธปุระ

       - แหล่งโบราณคดีในตอนใต้รัฐเคดะห์

       - แหล่งเรือจมเบลิตุง

       - แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก

       - แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์

       - แหล่งโบราณคดีนางย่อน

       - แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

       - แหล่งโบราณคดีเมืองศรีมโหสถ

       - แหล่งโบราณคดีดงแม่นางเมือง

       - แหล่งโบราณคดียะรัง

       - แหล่งโบราณคดีเมืองโบราณอู่ทอง

       - แหล่งโบราณคดีคูบัว

       - แหล่งโบราณคดีวัดมหาธาตุ

       - แหล่งโบราณคดีเมืองพระรถ

     - สรุป

     

    บทที่ 3 การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่เกี่ยวเนื่องกับเอเชียตะวันตกที่พบในประเทศไทยด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์

     - ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่พบในประเทสไทยด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์

       - การวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด  

         - การวิเคราะห์น้ำเคลือบของภาชนะดินเผาแบบฟ้า-เขียว

           - ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของน้ำเคลือบ

             - การวิเคราะห์ชนิดของน้ำเคลือบ

       - การวิเคราะห์น้ำเคลือบของภาชนะดินเผาแบบเคลือบความมันเงา

         - ผลวิเคราะห์น้ำเคลือบและสี

       - การวิเคราะห์เศษภาชนะแก้ว

         - ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของชิ้นส่วนแก้ว

           - การวิเคราะห์ชนิดของแก้ว

       - การวิเคราะห์เศษภาชนะแก้วลายเขียนสี

         - ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของภาชนะแก้วลายเขียนสี

           - ผลการเปรียบเทียบปริมาณองค์ประกอบธาตุของสีในตัวอย่างแก้วเขียนสี

       - การศึกษาองค์ประกอบเนื้อดินด้วยวิธีศิลาวรรณา

         - ผลการวิเคราะห์เนื้อดินด้วยวิธีศิลาวรรณา

           - ผลการวิเคราะห์ชั้นน้ำเคลือบด้วยวิธีศิลาวรรณา

       - การวิเคราะห์ด้วยเทคนิด Particle Induced X-ray Emission (PIXE)

     - ส่วนที่ 2 ข้อมูลองค์ประกอบทางเคมีของโบราณวัตถุจากต่างประเทศ

       - องค์ประกอบทางเคมีของน้ำเคลือบภาชนะแบบฟ้า-เขียวในแหล่งโบราณคดีต่างประเทศ

         - แหล่งโบราณคดีเวห์ อัสดาซีร์ ประเทศอิรัค

         - แหล่งโบราณคดีบริเวณอ่าวเปอร์เซีย

       - องค์ประกอบทางเคมีของน้ำเคลือบเครื่องถ้วยจีนแบบ Fahua ที่มีการเคลือบแบบฟ้า-เขียว

       - องค์ประกอบทางเคมีของน้ำเคลือบภาชนะแบบเคลือบความมันเงาในแหล่งโบราณคดีต่างประเทศ

       - องค์ประกอบทางเคมีของชิ้นส่วนภาชนะแก้วในแหล่งโบราณคดีต่างประเทศ

         - แหล่งโบราณคดีเปงกาลัน บูจัง ประเทศมาเลเซีย

         - แหล่งโบราณคดีเมืองสเตซิฟอน

         - แหล่งโบราณคดีในเอเชียตะวันตกสมัยอิสลาม

         - แหล่งโบราณคดีรายา คาบสมุทรซีนาย ประเทศอียิปต์

         - แหล่งโบราณคดีเมืองรัฆฆา ประเทสซีเรีย

         - หลุมศพเจ้าหญิงเชงกัว มองโกเลียตอนใน

         - สถูปวัดดูเล เทียนจิน ประเทศจีน

       - องค์ประกอบทางเคมีของชิ้นส่วนภาชนะแก้วเขียนสีในแหล่งโบราณคดีต่างประเทศ

         - แหล่งโบราณคดีในเอเชียตะวันตกสมัยอิสลาม

         - แหล่งโบราณคดีรายา คาบสมุทรซีนาย ประเทศอียิปต์

       - องค์ประกอบทางเคมีของเหรียญกษาปณ์เปอร์เซียที่พบในต่างประเทศ

     - ส่วนที่ 3 การเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์โบราณวัตถุกับต่างประเทศ

       - ผลการเปรียบเทียบภาชนะดินเผาแบบฟ้า-เขียวกับต่างประเทศ

         - สรุปผลการวิเคราะห์น้ำเคลือบและเนื้อดินของภาชนะดินเผาแบบฟ้า-เขียว

       - ผลการเปรียบเทียบน้ำเคลือบและสีที่เขียนบนภาชนะแบบเคลือบความมันเงากับต่างประเทศ

       - การวิเคราะห์ถิ่นกำเนิดของแก้วและความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

       - การวิเคราะห์ถิ่นกำเนิดของแก้วเขียนสีและความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

       - การวิเคราะห์และเปรียบเทียบเหรียญเงินสมัยซัสซาเนี่ยนกับต่างประเทศ

     

    บทที่ 4 ผลการศึกษา

     - สินค้า

     - พ่อค้า

     - เส้นทางการค้า

     - เส้นทางการแพร่กระจายสิ้นค้าจากเมืองท่าสู่แผ่นดินใหญ่

     

    บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ

     - สรุปผลการศึกษา

     - ข้อเสนอแนะ

     

    รายการอ้างอิง

     

    ประวัติผู้วิจัย 

     

     


  • บทคัดย่อ
  • วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) ศึกษาโบราณวัตถุที่มาจากเอเชียตะวันตกโดยใช้วิธีวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างโบราณวัตถุที่นำมาวิเคราะห์แต่ละประเภท เพื่อให้ผลที่แสดงให้เห็นถึงแหล่งที่มาและเทคโนโลยีการผลิต 2) ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างภูมิภาคเอเชียตะวันตกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเน้นประเทศไทยเป็นหลักในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 16

    ผลการศึกษาพบว่า ภาชนะดินเผาจากเอเชียตะวันตกใช้เทคนิคการเคลือบชนิดเคลือบด่าง และใช้แร่ธาตุและออกไซด์ของโลหะเป็นสารประกอบในการให้สี และตกแต่งผิวบนภาชนะดินเผาส่วนนี้ของภาชนะเป็นแบบเนื้อเครื่องหิน ในขณะที่แก้วใสและแก้วเขียนสีต่างเป็นแก้วโซดา ที่มีการออกไซด์ของโลหะเป็นสารประกอบสี ส่วนเหรียญกษาปณ์เงินมีค่าความบริสุทธิ์ของเงินค่อนข้างสูง ผลจากตัวอย่างโบราณวัตถุส่วนใหญ่ที่นำมาวิเคราะห์ แสดงให้เห็นว่ามีต้นกำเนิดอยู่ที่เอเชียตะวันตก ซึ่งแหล่งผลิตในแต่ละที่ต่าง ๆ กันไปตามผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท

    เมื่อนำผลการวิเคราะห์ข้างต้นมาพิจารณาร่วมกันกับข้อมูลทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีทำให้ทราบว่า พ่อค้าชาวเอเชียตะวันตกเดินทางเข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 12 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 13 และได้ประกอบการค้ากับชาวพื้นเมือง สินค้าออกที่สำคัญของเอเชียตะวันตกคือ ภาชนะดินเผาและแก้ว ในขณะที่สินค้านำเข้าในช่วงแรก คือ ผ้าไหม ส่วนช่วงหลังคือ เครื่องถ้วยจีนและเครื่องเทศจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพ่อค้าชาวเอเชียตะวันตกทำหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการซื้อ-ขายเครื่องเทศให้กับจีนและโลกฝั่งตะวันตก อย่างไรก็ดี ยังไม่พบสินค้าจากเอเชียตะวันตกกระจายเข้าไปถึงแผ่นดินตอนในของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงบทบาทของสินค้าจากเอเชียตะวันตกที่มีอยู่แค่เพียงบริเวณชุมชนเมืองท่าเท่านั้น


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร และฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thai Digital Collection)

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การค้าทางไกล, การเดินเรือ, เทคโนโลยี, เศรษฐกิจการค้า,

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ศรีวิชัย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง

    คำสำคัญ
    เอเชียตะวันตก อาหรับ การวิเคราะห์โบราณวัตถุด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ แก้ว ภาชนะแก้ว วิธีศิลาวรรณา อิเล็กตรอนแบบส่องกราด PIXE Particle Induced X-ray Emission Fahua เปอร์เซีย เศษภาชนะดินเผาที่เคลือบสีฟ้า-เขียว เศษภาชนะดินเผาที่เคลือบสีเทอคอยซ์ เครื่องถ้วยแบบบาสรา เปอร์เชีย ศรีลังกา


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 25 ก.พ. 2566
    จำนวนผู้เข้าชม : 186