หน้าแรก วิทยานิพนธ์ เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง (The ornaments discovered at Phu Khao Thong archaeological sites and vicinities in, Ranong Province)

เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง (The ornaments discovered at Phu Khao Thong archaeological sites and vicinities in, Ranong Province)

เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง (The ornaments discovered at Phu Khao Thong archaeological sites and vicinities in, Ranong Province)

ผู้เขียน นฤมล กางเกตุ
ชื่อวิทยานิพนธ์ เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง (The ornaments discovered at Phu Khao Thong archaeological sites and vicinities in, Ranong Province)
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2552 ()
จำนวนหน้า 154
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญตาราง

สารบัญแผนที่

สารบัญภาพ

 

บทที่ 1 บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์การศึกษา

ขอบเขตของการศึกษา

ขั้นตอนของการศึกษา

วิธีการศึกษา วิธีการศึกษา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

 

บทที่ 2 การศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับเครื่องประดับโบราณในภาคใต้

ความหมายของเครื่องประดับ

ความเป็นมาของเครื่องประดับ

เครื่องประดับโบราณในภาคใต้

วัตถุดิบที่ใช้ทำเครื่องประดับโบราณในภาคใต้

ประเภทของเครื่องประดับโบราณ

 

บทที่ 3 เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง

แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

ที่ตั้ง

การศึกษาที่ผ่านมา การดำเนินงานทางโบราณคดี

หลักฐานทางโบราณคดี

อายุสมัย

 

เครื่องประดับที่พบจากการสำรวจแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

แหล่งโบราณคดีเขากล้วย อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

ที่ตั้ง

ลักษณะสภาพแวดล้อม

หลักฐานทางโบราณคดี

อายุสมัย

แหล่งโบราณคดีบางกล้วยนอก อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง...

ที่ตั้ง

ลักษณะสภาพแวดล้อม

หลักฐานทางโบราณคดี

อายุสมัย

แหล่งโบราณคดีบ้านนาเหนือ อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

ที่ตั้ง

ลักษณะสภาพแวดล้อม

หลักฐานทางโบราณคดี

อายุสมัย

แหล่งโบราณคดีบ้านนาเหนือ อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

ที่ตั้ง

ลักษณะสภาพแวดล้อม

หลักฐานทางโบราณคดี

อายุสมัย

แหล่งโบราณคดีบ้านไร่ใน 1 อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

ที่ตั้ง

ลักษณะสภาพแวดล้อม

หลักฐานทางโบราณคดี

อายุสมัย

แหล่งโบราณคดีบ้านไร่ใน 2 อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

ที่ตั้ง

ลักษณะสภาพแวดล้อม

หลักฐานทางโบราณคดี

อายุสมัย

แหล่งโบราณคดีบ้านปากจั่น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง

ที่ตั้ง

ลักษณะสภาพแวดล้อม

หลักฐานทางโบราณคดี

อายุสมัย

 

บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์เครื่องประดับ

การวิเคราะห์ที่มาและแหล่งผลิตเครื่องประดับ

บทบาทและความสำคัญของแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียง ในจังหวัดระนอง

บทบาทการเป็นเมืองท่าศูนย์กลางการค้าชายฝั่งทะเลอันดามัน

บทบาทการเป็นแหล่งผลิตลูกปัดในสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์

ความสัมพันธ์ทางการค้าของแหล่งโบราณคดีภูเขาทองกับเมืองท่าร่วมสมัย ในภาคใต้และเมืองท่าภายนอกโพ้นทะเล

 

บทที่ 5 บทสรุปแลข้อเสนอแนะ

 

บรรณานุกรม

ประวัติผู้วิจัย

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง โบราณคดี เครื่องประดับ

ยุคสมัย

พุทธศตวรรษที่13 พุทธศตวรรษที่9

จำนวนผู้เข้าชม

34

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

2 พ.ค. 2567

เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง (The ornaments discovered at Phu Khao Thong archaeological sites and vicinities in, Ranong Province)

  • เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง (The ornaments discovered at Phu Khao Thong archaeological sites and vicinities in, Ranong Province)
  • ผู้เขียน
    นฤมล กางเกตุ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง (The ornaments discovered at Phu Khao Thong archaeological sites and vicinities in, Ranong Province)

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2552 ()

    จำนวนหน้า
    154

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

    กิตติกรรมประกาศ

    สารบัญตาราง

    สารบัญแผนที่

    สารบัญภาพ

     

    บทที่ 1 บทนำ

    ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์การศึกษา

    ขอบเขตของการศึกษา

    ขั้นตอนของการศึกษา

    วิธีการศึกษา วิธีการศึกษา

    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

     

    บทที่ 2 การศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับเครื่องประดับโบราณในภาคใต้

    ความหมายของเครื่องประดับ

    ความเป็นมาของเครื่องประดับ

    เครื่องประดับโบราณในภาคใต้

    วัตถุดิบที่ใช้ทำเครื่องประดับโบราณในภาคใต้

    ประเภทของเครื่องประดับโบราณ

     

    บทที่ 3 เครื่องประดับที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระนอง

    แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

    ที่ตั้ง

    การศึกษาที่ผ่านมา การดำเนินงานทางโบราณคดี

    หลักฐานทางโบราณคดี

    อายุสมัย

     

    เครื่องประดับที่พบจากการสำรวจแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

    แหล่งโบราณคดีเขากล้วย อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

    ที่ตั้ง

    ลักษณะสภาพแวดล้อม

    หลักฐานทางโบราณคดี

    อายุสมัย

    แหล่งโบราณคดีบางกล้วยนอก อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง...

    ที่ตั้ง

    ลักษณะสภาพแวดล้อม

    หลักฐานทางโบราณคดี

    อายุสมัย

    แหล่งโบราณคดีบ้านนาเหนือ อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

    ที่ตั้ง

    ลักษณะสภาพแวดล้อม

    หลักฐานทางโบราณคดี

    อายุสมัย

    แหล่งโบราณคดีบ้านนาเหนือ อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

    ที่ตั้ง

    ลักษณะสภาพแวดล้อม

    หลักฐานทางโบราณคดี

    อายุสมัย

    แหล่งโบราณคดีบ้านไร่ใน 1 อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

    ที่ตั้ง

    ลักษณะสภาพแวดล้อม

    หลักฐานทางโบราณคดี

    อายุสมัย

    แหล่งโบราณคดีบ้านไร่ใน 2 อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

    ที่ตั้ง

    ลักษณะสภาพแวดล้อม

    หลักฐานทางโบราณคดี

    อายุสมัย

    แหล่งโบราณคดีบ้านปากจั่น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง

    ที่ตั้ง

    ลักษณะสภาพแวดล้อม

    หลักฐานทางโบราณคดี

    อายุสมัย

     

    บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล

    การวิเคราะห์เครื่องประดับ

    การวิเคราะห์ที่มาและแหล่งผลิตเครื่องประดับ

    บทบาทและความสำคัญของแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและบริเวณใกล้เคียง ในจังหวัดระนอง

    บทบาทการเป็นเมืองท่าศูนย์กลางการค้าชายฝั่งทะเลอันดามัน

    บทบาทการเป็นแหล่งผลิตลูกปัดในสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์

    ความสัมพันธ์ทางการค้าของแหล่งโบราณคดีภูเขาทองกับเมืองท่าร่วมสมัย ในภาคใต้และเมืองท่าภายนอกโพ้นทะเล

     

    บทที่ 5 บทสรุปแลข้อเสนอแนะ

     

    บรรณานุกรม

    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  • วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อศึกษารูปแบบ ที่มา แหล่งผลิตเครื่องประดับโบราณและบทบาทความสำคัญแหล่งโบราณคดีภูเขาทองและแหล่งโบราณคดีในบริเวณใกล้เคียง รวมทั้งการศึกษาการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มแหล่งโบราณภูเขาทอง กับแหล่งโบราณคดีใกล้เคียงและแหล่งโบราณต่างถิ่นโพ้นทะเล ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้มาจากหลักฐานโบราณคดีประเภทเครื่องประดับต่าง ๆ ที่พบจากการสำรวจและการขุดค้นแหล่งโบราณคดีในจังหวัดระนอง ผลการศึกษาพบหลักฐานเครื่องประดับโบราณที่มีหลากหลายชนิด สามารถแบ่งประเภทเครื่องประดับออกได้เป็น 5 ประเภท คือ กำไล ตุ้มหู หัวแหวน จี้ห้อย และลูกปัด ที่ทำจากวัตถุดิบต่างชนิดกัน เช่น หิน แก้ว และทองคำ เครื่องประดับที่พบส่วนมากมีที่มาจากอินเดีย เช่น เมืองอริกเมดุ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตลูกปัดที่สำคัญในช่วงพุทธศตวรรษที่ 5-9 นอกจากนี้ยังมีที่มาจากเวียดนาม ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-11 และเปอร์เซีย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 10 ส่วนการศึกษาบทบาทความสำคัญของกลุ่มแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง พบว่าเป็นกลุ่มเมืองท่าการค้าที่สำคัญแห่งหนึ่ง โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง ราวพุทธศตวรรษที่ 5-9 ที่มีความสัมพันธ์ทางการค้ากับเมืองท่าต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย และตะวันออกกลาง ต่อมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-14 พบว่ามีการติดต่อทางการค้ากับพ้อค้านักเดินทางชาวเปอร์เซียด้วย นอกจากเป็นกลุ่มเมืองท่าที่สำคัญในสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ ยังพบว่ามีการผลิตเครื่องประดับ โดยเฉพาะการผลิตลูกปัดหินและแก้ว ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุร่วมสมัยกับแหล่งโบราณคดีควนลูกปัด จังหวัดกระบี่ และแหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว จังหวัดชุมพร ซึ่งเป็นเมืองท่าและแหล่งผลิตลูกปัดที่สำคัญในสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ของภาคใต้ในประเทศไทย


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การเดินเรือ, เครื่องประดับ, เศรษฐกิจการค้า,

    ยุคสมัย
    พุทธศตวรรษที่13 พุทธศตวรรษที่9

    คำสำคัญ
    แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง โบราณคดี เครื่องประดับ


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 2 พ.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 34