หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

การตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

การตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

ผู้เขียน ปริวรรษ เจียมจิตต
ชื่อวิทยานิพนธ์ การตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดี
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2562 (2019)
จำนวนหน้า 316
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

สารบัญตาราง

สารบัญรูปภาพ

 

บทที่ 1 บทนำ

เกณฑ์การสุ่มตัวอย่างแหล่งโบราณคดี

ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

ประโยชน์ของการศึกษา

พื้นที่ศึกษา

วิธีการและขั้นตอนของการศึกษา

ข้อจำกัดของการศึกษา

คำนิยามศัพท์เฉพาะ

 

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม

แนวคิดทฤษฎี - การตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดี (Settlement Archaeology)

  • ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
  • รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน (Settlement Pattern)
  • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน
  • การตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น (Hierarchy Settlement)

สภาพภูมิศาสตร์และธรณีวิทยาของลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

  • ลักษณะทางกายภาพโดยทั่วไปของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • สภาพภูมิอากาศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ภาพรวมการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การศึกษาทางโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่ผ่านมา

  • ภูมิหลังและพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • การศึกษาชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • การตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • โบราณสถานประเภทคูเมืองกำแพงเมือง
  • วิธีการศึกษาคูเมืองกำแพงเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

วิธีการศึกษาด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดี

  • ความรู้ทั่วไปของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
  • ขั้นตอนการทำงานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
  • ข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์

 

บทที่ 3 แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

วิธีการศึกษาแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

แหล่งโบราณคดีทั้งหมดในพื้นที่ล่มแม่น้ำชีตอนบน

  1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดขอนแก่น

1.1 อำเภอมัญจาคีรี จำนวน 23 แหล่ง

1.3 อำเภอชนบท จำนวน 16 แหล่ง

1.4 อำเภอบ้านไผ่ จำนวน 20 แหล่ง

1.5 อำเภอบ้านแฮด จำนวน 2 แหล่ง

1.6 อำเภอแวงน้อย จำนวน 9 แหล่ง

1.7 อำเภอแวงใหญ่ จำนวน 7 แหล่ง

1.8 อำเภอพระยืน จำนวน 5 แหล่ง.

1.9 อำเภอเมือง จำนวน 16 แหล่ง

  1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดมหาสารคาม.

2.1 อำเภอเมือง จำนวน 23 แหล่ง

2.2 อำเภอกันทรวิชัย จำนวน 34 แหล่ง

2.3 อำเภอโกสุมพิสัย จำนวน 29 แหล่ง

  1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดหนองบัวลำภู

3.1 อำเภอศรีบุญเรือง จำนวน 24 แหล่ง

  1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดเลย

4.1 อำเภอภูกระดึง จำนวน 9 แหล่ง

  1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดชัยภูมิ

5.1 อำเภอภูเขียว จำนวน 6 แหล่ง

5.2 อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จำนวน 6 แหล่ง

5.3 อำเภอบ้านแท่น จำนวน 2 แหล่ง

5.4 อำเภอคอนสาร จำนวน 1 แหล่ง

5.5 อำเภอเมือง จำนวน 9 แหล่ง

5.6 อำเภอคอนสวรรค์ จำนวน 2 แหล่ง

5.7 อำเภอจัตุรัส จำนวน 3 แหล่ง

5.8 อำเภอบำเหน็จณรงค์ จำนวน 6 แหล่ง

5.9 อำเภอบ้านเขว้า จำนวน 3 แหล่ง

 

การจัดลำดับอายุสมัยแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

  1. แหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย สมัยเหล็ก(ราวพุทธศตวรรษที่ 1-12)
  2. ยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมรก่อนเมืองพระนคร (ราวพุทธศตวรรษที่ 12-14)
  3. ยุคประวัติศาสตร์ สมัยทวารวี (ราวพุทธศตวรรษที่ 14-16)
  4. ยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร ศิลปะบาปวน (ราวพุทธศตวรรษที่ 16) ศิลปะนครวัด (ราวพุทธศตวรรษที่ 17)
  5. แหล่งโบราณคดีในยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร ศิลปะบายน (ราวพุทธศตวรรษที่ 17-18)

 

บทที่ 4 บทวิเคราะห์

การวิเคราะห์เรื่องการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดีด้วยแนวคิดทฤษฎีแหล่งกลาง (Central Place Theory) และการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น (Settlement Hierarchy)

  • กฎความจริงเบื้องต้นเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
  • ทฤษฎีแหล่งกลาง (Center Place Theory)
  • เกณฑ์การพิจารณาแหล่งโบราณคดีสำคัญ (Key Sites)
  • เครื่องมือและวิธีการวิเคราะห์ (Tools and Methods)

แหล่งโบราณคดีสำคัญที่วิเคราะห์ผ่านแนวคิดการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น

  1. การวิเคราะห์เมืองโบราณบ้านเมืองเพีย
  2. การวิเคราะห์เมืองโบราณไชยวาน
  3. การวิเคราะห์เมืองโบราณคอนสวรรค์
  4. การวิเคราะห์เมืองโบราณหามหอก
  5. การวิเคราะห์เมืองโบราณบ้านแก้ง
  6. การวิเคราะห์แหล่งโบราณคดีบ้านศรีฐานและแหล่งโบราณคดีโนนชัย
  7. การวิเคราะห์เมืองโบราณกันทรวิชัย
  8. การวิเคราะห์เมืองโบราณบ้านเชียงเหียน

ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิตเกลือสินเธาว์ในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

เมืองโบราณขนาดใหญ่ที่คาดว่าน่าจะเป็นเมืองศูนย์กลางของรัฐหรืออาณาจักร

ศูนย์กลางวัฒนธรรมทวารวดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

ศูนย์กลางวัฒนธรรมเขมรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

การวิเคราะห์เรื่องการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดีด้วยแนวคิดเชิงสัญลักษณ์

อิทธิพลทางการเมืองของเขมร

    ผังเมืองและการจัดการน้ำ

วิพากษ์ผลการศึกษาเดิมเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐาน

  1. ทำเลที่ตั้งและความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม
  2. ความสัมพันธ์ของชุมชนและการแพร่กระจาย
  3. การดำรงชีพและพัฒนาการชุมชนโบราณ
  4. เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของแหล่งโบราณคดีในพื้นที่อื่น

 

  • 4.1 เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนกลางและตอน
  • 4.2 เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำมูล
  • 4.3 เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำสงคราม
  • 4.4 เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศ

อภิปรายผลการศึกษา

 

บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษา

  • ปัจจัยการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
  • รูปแบบและลักษณะการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

ข้อเสนอแนะ

รายการอ้างอิง

ภาคผนวก

แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดขอนแก่น

  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอโคกโพธิ์ชัย จังหวัดขอนแก่น
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดมหาสารคาม

  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม

แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดเลย

  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย

แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดหนองบัวลำภู

  • แหล่งโบราณคดีในอำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู

แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดชัยภูมิ

  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ
  • แหล่งโบราณคดีในอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ
  • แหล่งโบราณคดีในอำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ
  • แหล่งโบราณคดีในอำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ
  • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ

ประวัติผู้เขียน

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

การตั้งถิ่นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลุ่มน้ำชี

ยุคสมัย

ทวารวดี ก่อนประวัติศาสตร์ จักรวรรดิเขมร ยุคโลหะ ประวัติศาสตร์

จำนวนผู้เข้าชม

58

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

15 มี.ค. 2567

การตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

  • การตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
  • ผู้เขียน
    ปริวรรษ เจียมจิตต

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดี

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2562 (2019)

    จำนวนหน้า
    316

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

    กิตติกรรมประกาศ

    สารบัญ

    สารบัญตาราง

    สารบัญรูปภาพ

     

    บทที่ 1 บทนำ

    เกณฑ์การสุ่มตัวอย่างแหล่งโบราณคดี

    ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

    ประโยชน์ของการศึกษา

    พื้นที่ศึกษา

    วิธีการและขั้นตอนของการศึกษา

    ข้อจำกัดของการศึกษา

    คำนิยามศัพท์เฉพาะ

     

    บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม

    แนวคิดทฤษฎี - การตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดี (Settlement Archaeology)

    • ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
    • รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน (Settlement Pattern)
    • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน
    • การตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น (Hierarchy Settlement)

    สภาพภูมิศาสตร์และธรณีวิทยาของลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

    • ลักษณะทางกายภาพโดยทั่วไปของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • สภาพภูมิอากาศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • ภาพรวมการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    การศึกษาทางโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่ผ่านมา

    • ภูมิหลังและพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • การศึกษาชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • การตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • โบราณสถานประเภทคูเมืองกำแพงเมือง
    • วิธีการศึกษาคูเมืองกำแพงเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    วิธีการศึกษาด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดี

    • ความรู้ทั่วไปของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
    • ขั้นตอนการทำงานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
    • ข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์

     

    บทที่ 3 แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

    วิธีการศึกษาแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

    แหล่งโบราณคดีทั้งหมดในพื้นที่ล่มแม่น้ำชีตอนบน

    1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดขอนแก่น

    1.1 อำเภอมัญจาคีรี จำนวน 23 แหล่ง

    1.3 อำเภอชนบท จำนวน 16 แหล่ง

    1.4 อำเภอบ้านไผ่ จำนวน 20 แหล่ง

    1.5 อำเภอบ้านแฮด จำนวน 2 แหล่ง

    1.6 อำเภอแวงน้อย จำนวน 9 แหล่ง

    1.7 อำเภอแวงใหญ่ จำนวน 7 แหล่ง

    1.8 อำเภอพระยืน จำนวน 5 แหล่ง.

    1.9 อำเภอเมือง จำนวน 16 แหล่ง

    1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดมหาสารคาม.

    2.1 อำเภอเมือง จำนวน 23 แหล่ง

    2.2 อำเภอกันทรวิชัย จำนวน 34 แหล่ง

    2.3 อำเภอโกสุมพิสัย จำนวน 29 แหล่ง

    1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดหนองบัวลำภู

    3.1 อำเภอศรีบุญเรือง จำนวน 24 แหล่ง

    1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดเลย

    4.1 อำเภอภูกระดึง จำนวน 9 แหล่ง

    1. แหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดชัยภูมิ

    5.1 อำเภอภูเขียว จำนวน 6 แหล่ง

    5.2 อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จำนวน 6 แหล่ง

    5.3 อำเภอบ้านแท่น จำนวน 2 แหล่ง

    5.4 อำเภอคอนสาร จำนวน 1 แหล่ง

    5.5 อำเภอเมือง จำนวน 9 แหล่ง

    5.6 อำเภอคอนสวรรค์ จำนวน 2 แหล่ง

    5.7 อำเภอจัตุรัส จำนวน 3 แหล่ง

    5.8 อำเภอบำเหน็จณรงค์ จำนวน 6 แหล่ง

    5.9 อำเภอบ้านเขว้า จำนวน 3 แหล่ง

     

    การจัดลำดับอายุสมัยแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

    1. แหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย สมัยเหล็ก(ราวพุทธศตวรรษที่ 1-12)
    2. ยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมรก่อนเมืองพระนคร (ราวพุทธศตวรรษที่ 12-14)
    3. ยุคประวัติศาสตร์ สมัยทวารวี (ราวพุทธศตวรรษที่ 14-16)
    4. ยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร ศิลปะบาปวน (ราวพุทธศตวรรษที่ 16) ศิลปะนครวัด (ราวพุทธศตวรรษที่ 17)
    5. แหล่งโบราณคดีในยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร ศิลปะบายน (ราวพุทธศตวรรษที่ 17-18)

     

    บทที่ 4 บทวิเคราะห์

    การวิเคราะห์เรื่องการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดีด้วยแนวคิดทฤษฎีแหล่งกลาง (Central Place Theory) และการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น (Settlement Hierarchy)

    • กฎความจริงเบื้องต้นเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
    • ทฤษฎีแหล่งกลาง (Center Place Theory)
    • เกณฑ์การพิจารณาแหล่งโบราณคดีสำคัญ (Key Sites)
    • เครื่องมือและวิธีการวิเคราะห์ (Tools and Methods)

    แหล่งโบราณคดีสำคัญที่วิเคราะห์ผ่านแนวคิดการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น

    1. การวิเคราะห์เมืองโบราณบ้านเมืองเพีย
    2. การวิเคราะห์เมืองโบราณไชยวาน
    3. การวิเคราะห์เมืองโบราณคอนสวรรค์
    4. การวิเคราะห์เมืองโบราณหามหอก
    5. การวิเคราะห์เมืองโบราณบ้านแก้ง
    6. การวิเคราะห์แหล่งโบราณคดีบ้านศรีฐานและแหล่งโบราณคดีโนนชัย
    7. การวิเคราะห์เมืองโบราณกันทรวิชัย
    8. การวิเคราะห์เมืองโบราณบ้านเชียงเหียน

    ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิตเกลือสินเธาว์ในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

    เมืองโบราณขนาดใหญ่ที่คาดว่าน่าจะเป็นเมืองศูนย์กลางของรัฐหรืออาณาจักร

    ศูนย์กลางวัฒนธรรมทวารวดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

    ศูนย์กลางวัฒนธรรมเขมรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

    การวิเคราะห์เรื่องการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดีด้วยแนวคิดเชิงสัญลักษณ์

    อิทธิพลทางการเมืองของเขมร

        ผังเมืองและการจัดการน้ำ

    วิพากษ์ผลการศึกษาเดิมเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐาน

    1. ทำเลที่ตั้งและความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม
    2. ความสัมพันธ์ของชุมชนและการแพร่กระจาย
    3. การดำรงชีพและพัฒนาการชุมชนโบราณ
    4. เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของแหล่งโบราณคดีในพื้นที่อื่น

     

    • 4.1 เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนกลางและตอน
    • 4.2 เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำมูล
    • 4.3 เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำสงคราม
    • 4.4 เปรียบเทียบกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศ

    อภิปรายผลการศึกษา

     

    บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ

    สรุปผลการศึกษา

    • ปัจจัยการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
    • รูปแบบและลักษณะการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน

    ข้อเสนอแนะ

    รายการอ้างอิง

    ภาคผนวก

    แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดขอนแก่น

    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอโคกโพธิ์ชัย จังหวัดขอนแก่น
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

    แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดมหาสารคาม

    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม

    แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดเลย

    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย

    แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดหนองบัวลำภู

    • แหล่งโบราณคดีในอำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู

    แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดชัยภูมิ

    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ
    • แหล่งโบราณคดีในอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ
    • แหล่งโบราณคดีในอำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ
    • แหล่งโบราณคดีในอำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ
    • แหล่งโบราณคดีในเขตอำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ

    ประวัติผู้เขียน


  • บทคัดย่อ
  • การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการตั้งถิ่นฐานของภูมิภาคลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 โดยมีการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และทฤษฎีแหล่งกลางมาช่วยในการวิเคราะห์และตอบคำถามวิจัย ซึ่งได้กำหนด “แหล่งโบราณคดีสำคัญ” จากคุณสมบัติโดดเด่นบางประการ พบชุมชนโบราณที่มีคูน้ำคันดินขนาดใหญ่ซึ่งอาจจะเป็นศูนย์กลาง กับแหล่งโบราณคดีอันเป็นบริวาร ซึ่งมีรูปแบบการตั้งถิ่นฐานแบบกระจุกตัวเป็นกลุ่มตามแนวลำน้ำชี โดยมีลักษณะของการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น ผลการศึกษาสามารถแบ่งการตั้งถิ่นฐานได้ 5 ระยะ ดังนี้ 1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย สมัยเหล็ก (ราว 2,500 ปีมาแล้ว – พุทธศตวรรษที่ 12) พบการตั้งถิ่นฐานเป็นกลุ่มตามที่สูง และเนินดินตามที่ราบลุ่มใกล้หนองน้ำ บางแห่งมีการขุดคูน้ำล้อมรอบ หรืออยู่ใกล้แหล่งเกลือ 2. ชุมชนยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร ก่อนเมืองพระนคร (ราวพุทธศตวรรษที่ 12-14) ไม่ปรากฏในพื้นที่ศึกษา แต่กลับพบบริเวณตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ 3. ชุมชนยุคประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี (ราวพุทธศตวรรษที่ 14-16) ส่วนใหญ่มีพัฒนาการจากชุมชนสมัยเหล็ก นิยมตั้งถิ่นฐานตามเนินดินบนที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง ชุมชนขนาดใหญ่จะมีคูน้ำคันดิน สันนิษฐานว่าเป็นศูนย์กลางชุมชนโดยรอบ หลักฐานที่พบโดยทั่วไปคือ หลักหิน – ใบเสมา ตามคติพุทธศาสนา 4. ชุมชนยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร (พุทธศตวรรษที่ 16-17) นิยมตั้งถิ่นฐานใกล้หนองน้ำใหญ่ แยกตัวออกจากชุมชนสมัยทวารวดี ส่วนศาสนสถานมักอยู่บนที่ราบน้ำท่วมไม่ถึง มีการสร้างบาราย 5. ชุมชนยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร (พุทธศตวรรษที่ 18) ส่วนมากมีพัฒนาการต่อเนื่องจากสมัยก่อนหน้า และมีการสร้างศาสนสถานตามความนิยม อยู่ใกล้กับชุมชนเดิมทั้งสองศาสนา


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การตั้งถิ่นฐาน,

    ยุคสมัย
    ทวารวดี ก่อนประวัติศาสตร์ จักรวรรดิเขมร ยุคโลหะ ประวัติศาสตร์

    คำสำคัญ
    การตั้งถิ่นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลุ่มน้ำชี


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 15 มี.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 58