หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษา "จฺยาม"

การศึกษา "จฺยาม"

การศึกษา "จฺยาม"

ผู้เขียน ปลฉัตร กลิ่นบางพูด
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษา "จฺยาม"
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
คณะ ศิลปกรรมศาสตร์
สาขาวิชา มานุษยดุริยางควิทยา
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2556 ()
จำนวนหน้า 125
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

1 บทนำ..
ภูมิหลัง
ความมุ่งหมายของการวิจัย
ความสำคัญของการวิจัย
ของเขตการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
กรอบแนวคิดในการวิจัย


2 เอกสารตำราวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับดนตรี
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง


3 วิธีดำเนินงานการศึกษาค้นคว้า
ขั้นรวบรวมข้อมูล
วิธีดำเนินการรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล

4 การวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 ศึกษาประวัติความเป็นมาและวิธีการประดิษฐ์ จฺยาม
ประวัติความเป็นมาของ “จุยาม”
บทบาทและหน้าที่ของ “จยาม” ในวงดนตรีมอญ
วิธีการประดิษฐ์ จุยาม

ตอนที่ 2 ศึกษาเทคนิคการบรรเลงและบทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
เทคนิคการบรรเลง “ยาม”
บทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
เพลงสองพญาหงส์ทอง (ซโมบป๊อบโทว)
เพลงหนึ่งในหน้าที่ (ป้าละหยายมัว)
เพลงสถานรื่นรมย์ของหงส์ทอง (ห้ามละโหย บ๊อบโทว)
เพลงรำ 12 ท่า (จ๊าวบ๋านัว)
เพลงวัฒนธรรมสุวรรณภูมิ (เยนสะม่าย ซ่าววะนะเพิ่ง)

5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ศิลปวัฒนธรรมมอญ

ยุคสมัย

มอญ

จำนวนผู้เข้าชม

43

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

21 ก.พ. 2567

การศึกษา "จฺยาม"

  • การศึกษา "จฺยาม"
  • ผู้เขียน
    ปลฉัตร กลิ่นบางพูด

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษา "จฺยาม"

    มหาวิทยาลัย
    มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

    คณะ
    ศิลปกรรมศาสตร์

    สาขาวิชา
    มานุษยดุริยางควิทยา

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2556 ()

    จำนวนหน้า
    125

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • 1 บทนำ..
    ภูมิหลัง
    ความมุ่งหมายของการวิจัย
    ความสำคัญของการวิจัย
    ของเขตการวิจัย
    นิยามศัพท์เฉพาะ
    กรอบแนวคิดในการวิจัย


    2 เอกสารตำราวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    เอกสารที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์
    เอกสารที่เกี่ยวข้องกับดนตรี
    งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง


    3 วิธีดำเนินงานการศึกษาค้นคว้า
    ขั้นรวบรวมข้อมูล
    วิธีดำเนินการรวบรวมข้อมูล
    ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล

    4 การวิเคราะห์ข้อมูล
    ตอนที่ 1 ศึกษาประวัติความเป็นมาและวิธีการประดิษฐ์ จฺยาม
    ประวัติความเป็นมาของ “จุยาม”
    บทบาทและหน้าที่ของ “จยาม” ในวงดนตรีมอญ
    วิธีการประดิษฐ์ จุยาม

    ตอนที่ 2 ศึกษาเทคนิคการบรรเลงและบทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
    เทคนิคการบรรเลง “ยาม”
    บทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
    เพลงสองพญาหงส์ทอง (ซโมบป๊อบโทว)
    เพลงหนึ่งในหน้าที่ (ป้าละหยายมัว)
    เพลงสถานรื่นรมย์ของหงส์ทอง (ห้ามละโหย บ๊อบโทว)
    เพลงรำ 12 ท่า (จ๊าวบ๋านัว)
    เพลงวัฒนธรรมสุวรรณภูมิ (เยนสะม่าย ซ่าววะนะเพิ่ง)

    5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...
    สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
    อภิปรายผล
    ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป


  • บทคัดย่อ
  • ปริญญานิพนธ์เรื่องการศึกษา “จยาม” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ศูนย์
    วัฒนธรรมมอญ หมู่บ้านวังกะ บ้านเลขที่ 120 หมู่ 2 ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
    มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา วิธีการประดิษฐ์ “จุยาม” เทคนิควิธีการบรรเลงบทบาท
    หน้าที่ของ จุยาม ในวงปี่พาทย์มอญหงสาวดี และบทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
    จากการศึกษาพบว่า จยามจะเข้) เป็นเครื่องดนตรีประจำชาติของชาวมอญ สันนิษฐานว่าเป็นที่
    รู้จักในประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ซึ่งเกิดจากตำนานความรักของเจ้าชายกับเจ้าหญิง
    สองเมืองที่มีแม่น้ำกั้นกลาง และมีจระเข้อาศัยอยู่มากมาย เวลาที่เจ้าชายจะไปพบเจ้าหญิงจะมีจระเข้ตัว
    หนึ่งคอยพเข้ามแม่น้ำไป จนวันหนึ่งโดนจระเข้ตัวอื่นรุมทำร้าย จนเสียชีวิตและทำให้เจ้าชายที่หลบอยู่ใน
    ปากเสียชีวิตไปด้วย จึงทำให้ทุกคนยกย่องเคารพบูชาจระเข้ที่มีความซื่อสัตย์และเสียสละ จึงเกิดเป็น
    สัญลักษณ์ เครื่องดนตรีของชาวมอญที่เรียกว่า “ยาม” เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายใช้การดีดให้
    เกิดเสียง เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประสมในวงดนตรีมอญ มีหน้าที่ดำเนินทำนองหลักของวง ทำจาก
    ไม้ขนุน แกะสลักเหมือนตัวจระเข้จริงๆ มีลวดลายเป็นเกล็ด มีปากอ้า มีหัว มีตา มีขา มีเท้า และมีหางที่
    โค้งงอน ขุดเจาะลำตัวทะลุเป็นโพรงเพื่อให้เกิดเสียง มีสายจำนวน 3 สาย มีนม จำนวน 13 นม
    วิธีการบรรเลงจะใช้ไม้ดีดทรงกลมแหลม ลักษณะเหมือนดินสอ ทำด้วยไม้ เขาสัตว์ หรืองาช้าง
    มีลักษณะวิธีการดีดคล้ายกับการดีดจะเข้ของไทย การเทียบเสียงจะเทียบสายที่ 1 คือเสียง ฟา (F) สายที่ 2
    คือเสียงโด (C) สายที่ 3 คือเสียงฟา (F) การบรรเลง ยาม ส่วนมากจะดำเนินทำนองบนสายเอกหรือสายที่
    หนึ่งเป็นส่วนใหญ่ บางครั้งก็จะเล่นควบคู่กันไปกับสายที่ 2 หรือสายที่ 3 วิธีการดีดจะดีดเข้าเพียงอย่าง
    เดียว นอกจากเวลารัวหรือกรอเสียงจะดีดเข้าออกเข้าอย่างสม่ำเสมอเหมือนของไทย ก่อนที่จะประดิษฐ์
    จยาม ในครั้งแรกจะมีพิธีบูชาครูหรือเซ่นไหว้ครูที่เรียกว่า “อาม่ายอาแจ้” ทั้งนี้ พิธีกรรมดังกล่าวยังใช้
    กระทำก่อนการบรรเลงหรือการแสดงทุกครั้งอีกด้วย วงปี่พาทย์มอญหงสาวดีได้ก่อตั้งขึ้นเพื่ออนุรักษ์และ
    สืบทอดศิลปะของชาวมอญ เพื่อใช้บรรเลงและประกอบการแสดงในโอกาสต่างๆ เช่น งานประเพณีของ
    หมู่บ้าน งานต้อนรับแขก และงานมงคลทั่วไป บทเพลงที่นิยมใช้บรรเลงได้แก่ เพลงสองพญาหงส์ทอง
    เพลงหนึ่งในหน้าที่หรือเพลงบูชาเจ้าพ่อหลักเมือง เพลงสถานรื่นรมย์ของหงส์ทอง เพลงรำ 12 ท่า และ
    เพลงวัฒนธรรมสุวรรณภูมิ จะเห็นได้ว่า จุยาม เป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ของชาวมอญ ควรค่าแก่การ
    อนุรักษ์และเผยแพร่สู่อนุชนรุ่นหลังสืบไป


    ห้องสมุดแนะนำ

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    ประวัติศาสตร์สังคม, ศิลปะ,

    ยุคสมัย
    มอญ

    คำสำคัญ
    ศิลปวัฒนธรรมมอญ


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 21 ก.พ. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 43