หน้าแรก วิทยานิพนธ์ ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช : พัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-19

ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช : พัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-19

ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช : พัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-19

ผู้เขียน ปรีชา นุ่มสุข
ชื่อวิทยานิพนธ์ ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช : พัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-19
มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะ คณะอักษรศาสตร์
สาขาวิชา สาขาวิชาประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาเอก
ปี 2544 (2001)
จำนวนหน้า 598
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญแผนภูมิ
สารบัญแผนที่
สารบัญภาพ

บทที่ 1 บทนำ
   ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
   วัตถุประสงค์ของการวิจัย
   กรอบความคิดและสมมติฐานของการวิจัย
   ขอบเขตของการวิจัย
   นิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัย
   ระเบียบวิธีวิจัย 
   ขีดจำกัดในการใช้หลักฐานในการวิจัย
   ระยะเวลาในการทำวิจัย
   ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
บทที่ 2 ตามพรลิงค์ รัฐการค้ารุ่นต้นบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-16
   สภาพพื้นฐานของคาบสมุทรไทย
   ปัจจัยสนับสนุนการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนโบราณบนคาบสมุทรไทย
      ปัจจัยสนับสนุนจากการค้า
      ปัจจัยสนับสนุนจากศาสนา
      ปัจจัยสนับสนุนจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
   เมืองโบราณที่สำคัญบนคาบสมุทรไทย
      เมืองโบราณควนลูกปัด
      เมืองโบราณภูเขาทอง
      เมืองโบราณเขาสามแก้ว
      เมืองโบราณท่าชนะ
      เมืองโบราณไชยา
      เมืองโบราณนครศรีธรรมราช
   พัฒนาการทางการค้าของรัฐตามพรลิงค์
บทที่ 3 ตามพรลิงค์ รัฐรุ่นต้นของลัทธิไศวนิกาย ในพุทธศตวรรษที่ 11-16
   วิวัฒนาการของศาสนาพราหมณ์
   ยุคทองของลัทธิไศวนิกายในรัฐตามพรลิงค์
   การพัฒนารัฐตามพรลิงค์ภายใต้ลัทธิไศวนิกาย
      บทบาทในฐานะของเจ้าแห่งวิทยาการ
         วิทยาการด้านระบบความเชื่อ
         วิทยาการด้านการศึกษา
         วิทยาการด้านการปกครอง
      บทบาทในฐานะของเจ้าแห่งป่า
         การสถาปนาระบบตีรถะ
         การสถาปนาเทวาลัย
         การสถาปนาระบบคงคา
         การสถาปนาระบบมัณฑละ
      บทบาทในฐานะของเจ้าแห่งเทพ
         การสถาปนามัณฑละของพระศิวะ
         การสถาปนาเทพแห่งรัฐ
   ความคลี่คลายของลัทธิไศวนิกาย
บทที่ 4 ตามพรลิงค์ รัฐศูนย์กลางของพุทธศาสนาบนคาบสมุทรไทย ในพุทธศตวรรษที่ 17-19
   พัฒนาการของพุทธศาสนาในรัฐตามพรลิงค์
   พุทธศาสนาภายใต้ระบบมัณฑละของลัทธิไศวนิกายในรัฐตามพรลิงค์
      นิกายเถรวาทในรัฐตามพรลิงค์
      ลัทธิมหายานในรัฐตามพรลิงค์
   ตามพรลิงค์: รัฐศูนย์กลางพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
   ตามพรลิงค์: รัฐพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์
      การสถาปนาศูนย์กลางแห่งรัฐ
      การสถาปนาระบบเมืองสิบสองนักษัตรแห่งรัฐ
      การพัฒนาระบบการค้าแห่งรัฐ
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
   บทสรุป
   ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ภาคผนวก
   ภาคผนวก ก เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการวิจัย
   ภาคผนวก ข ตาราง
   ภาคผนวก ค แผนภูมิ
   ภาคผนวก ง แผนที่
   ภาคผนวก จ ภาพ
ประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์

ห้องสมุดแนะนำ

คลังปัญญาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ตามพรลิงค์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ไศวนิกาย หินยาน ลังกาวงศ์ เมืองสิบสองนักษัตร มัณฑละ

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น โบราณ

จำนวนผู้เข้าชม

66

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

27 ม.ค. 2567

ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช : พัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-19

  • ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช : พัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-19
  • ผู้เขียน
    ปรีชา นุ่มสุข

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช : พัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-19

    มหาวิทยาลัย
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    คณะ
    คณะอักษรศาสตร์

    สาขาวิชา
    สาขาวิชาประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาเอก

    ปี
    2544 (2001)

    จำนวนหน้า
    598

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย
    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
    กิตติกรรมประกาศ
    สารบัญ
    สารบัญตาราง
    สารบัญแผนภูมิ
    สารบัญแผนที่
    สารบัญภาพ

    บทที่ 1 บทนำ
       ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
       วัตถุประสงค์ของการวิจัย
       กรอบความคิดและสมมติฐานของการวิจัย
       ขอบเขตของการวิจัย
       นิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัย
       ระเบียบวิธีวิจัย 
       ขีดจำกัดในการใช้หลักฐานในการวิจัย
       ระยะเวลาในการทำวิจัย
       ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
    บทที่ 2 ตามพรลิงค์ รัฐการค้ารุ่นต้นบนคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่ 11-16
       สภาพพื้นฐานของคาบสมุทรไทย
       ปัจจัยสนับสนุนการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนโบราณบนคาบสมุทรไทย
          ปัจจัยสนับสนุนจากการค้า
          ปัจจัยสนับสนุนจากศาสนา
          ปัจจัยสนับสนุนจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
       เมืองโบราณที่สำคัญบนคาบสมุทรไทย
          เมืองโบราณควนลูกปัด
          เมืองโบราณภูเขาทอง
          เมืองโบราณเขาสามแก้ว
          เมืองโบราณท่าชนะ
          เมืองโบราณไชยา
          เมืองโบราณนครศรีธรรมราช
       พัฒนาการทางการค้าของรัฐตามพรลิงค์
    บทที่ 3 ตามพรลิงค์ รัฐรุ่นต้นของลัทธิไศวนิกาย ในพุทธศตวรรษที่ 11-16
       วิวัฒนาการของศาสนาพราหมณ์
       ยุคทองของลัทธิไศวนิกายในรัฐตามพรลิงค์
       การพัฒนารัฐตามพรลิงค์ภายใต้ลัทธิไศวนิกาย
          บทบาทในฐานะของเจ้าแห่งวิทยาการ
             วิทยาการด้านระบบความเชื่อ
             วิทยาการด้านการศึกษา
             วิทยาการด้านการปกครอง
          บทบาทในฐานะของเจ้าแห่งป่า
             การสถาปนาระบบตีรถะ
             การสถาปนาเทวาลัย
             การสถาปนาระบบคงคา
             การสถาปนาระบบมัณฑละ
          บทบาทในฐานะของเจ้าแห่งเทพ
             การสถาปนามัณฑละของพระศิวะ
             การสถาปนาเทพแห่งรัฐ
       ความคลี่คลายของลัทธิไศวนิกาย
    บทที่ 4 ตามพรลิงค์ รัฐศูนย์กลางของพุทธศาสนาบนคาบสมุทรไทย ในพุทธศตวรรษที่ 17-19
       พัฒนาการของพุทธศาสนาในรัฐตามพรลิงค์
       พุทธศาสนาภายใต้ระบบมัณฑละของลัทธิไศวนิกายในรัฐตามพรลิงค์
          นิกายเถรวาทในรัฐตามพรลิงค์
          ลัทธิมหายานในรัฐตามพรลิงค์
       ตามพรลิงค์: รัฐศูนย์กลางพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
       ตามพรลิงค์: รัฐพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์
          การสถาปนาศูนย์กลางแห่งรัฐ
          การสถาปนาระบบเมืองสิบสองนักษัตรแห่งรัฐ
          การพัฒนาระบบการค้าแห่งรัฐ
    บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
       บทสรุป
       ข้อเสนอแนะ
    รายการอ้างอิง
    ภาคผนวก
       ภาคผนวก ก เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการวิจัย
       ภาคผนวก ข ตาราง
       ภาคผนวก ค แผนภูมิ
       ภาคผนวก ง แผนที่
       ภาคผนวก จ ภาพ
    ประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์


  • บทคัดย่อ
  • วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาพัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-19 โดยเน้นหนักรัฐนครศรีธรรมราช


    ผลการศึกษาค้นพบว่าพัฒนาการของรัฐบนคาบสมุทรไทยในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-19 โดยเฉพาะรัฐตามพรลิงค์หรือรัฐนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นรัฐที่มีความสำคัญมากที่สุดของคาบสมุทรไทย เป็นพัฒนาการที่มีความต่อเนื่องตลอดระยะเวลาดังกล่าว โดยมีปัจจัยที่เป็นกระแสหลักแห่งพลังผลักดันให้เกิดพัฒนาการของรัฐดังกล่าวสามกระแส คือ การค้า ศาสนา และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น โดยในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-16 กระแสหลักทั้งสามนั้นได้เข้ามารวมอยู่ด้วยกันอย่างเป็นเอกภาพภายในหน่วยของระบบโครงสร้างอันศักดิ์สิทธิ์ที่เรียกว่าระบบมัณฑละ ตามระบบความเชื่อเกี่ยวกับจักรวาลวิทยาของศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย ครั้นระบบความเชื่อดังกล่าวได้คลี่คลายลงนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ปัจจัยดังกล่าวทั้งสามกระแสได้รับการสืบต่อโดยระบบความเชื่อของพุทธศาสนาลทธิหินยาน นิกายลังกาวงศ์ ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 17-19 โดยปัจจัยหลักเหล่านั้นได้รวมอยู่อย่างเป็นเอกภาพภายในหน่วยของระบบโครงสร้างอันศักดิ์สิทธิ์เช่นเดียวกัน คือ หน่วยที่เรียกว่า ระบบเมืองสิบสองนักษัตร โดยในระหว่างที่ศาสนาหนึ่งศาสนาใดในสองศาสนานี้รุ่งโรจน์ขึ้นเป็นหลักภายในรัฐ อีกศาสนาหนึ่งก็ยังคงอยู่ และศาสนาทั้งสองนี้ได้ผสมผสานกันอย่างกลมกลืนภายในรัฐดังกล่าว


    ห้องสมุดแนะนำ
    คลังปัญญาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การเมือง, การข้ามคาบสมุทร, การค้าทางไกล, การตั้งถิ่นฐาน, ประวัติศาสตร์สังคม, ระบบกษัตริย์, ศาสนา, เศรษฐกิจการค้า,

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น โบราณ

    คำสำคัญ
    ตามพรลิงค์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ไศวนิกาย หินยาน ลังกาวงศ์ เมืองสิบสองนักษัตร มัณฑละ


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 27 ม.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 66