หน้าแรก วิทยานิพนธ์ ศิลาวรรณนากับการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี

ศิลาวรรณนากับการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี

ศิลาวรรณนากับการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี

ผู้เขียน ดวงกมล อัศวมาศ
ชื่อวิทยานิพนธ์ ศิลาวรรณนากับการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะ บัณฑิตวิทยาลัย
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาเอก
ปี 2553 (2010)
จำนวนหน้า 955
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญแผนภูมิ

บทที่ 1 บทนำ
     ความเป้นมาและความสำคัญของปัญหา
     ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
     สมมติฐานของการศึกษา
     ขอบเขตของการศึกษา
     วิธีการและเกณฑ์เลือกตัวอย่าง
     ขั้นตอนการศึกษา
     วิธีการศึกษา
     ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
     แหล่งข้อมูล
     อุปกรณ์ที่ใช้ค้นคว้า
     ข้อตกลงเบื้องต้น
     คำศัพท์เฉพาะ

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
     คุณประโยชน์ของการศึกษาภาชนะดินเผาต่องานโบราณคดี
     แนวทางการศึกษาภาชนดินเผาทางโบราณคดี
     งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาภาชนะดินเผาด้วยวิธีศิลาวรรณา
     ภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดีในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
     ภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในสมัยทวารวดี
     ภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

บทที่ 3 ภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันจากแหล่งโบรารคดีในวัฒนธรรมทวารวดี
     ขั้นตอนการศึกษาภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสัน
     ข้อมูลแหล่งโบราณคดีและตัวอย่างภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสัน
     ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์ด้วยวิธีศิลาวรรณา

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ภาชนะดินเผาด้วยวิธีสิลาวรรรณาแบบรายชิ้น
     ผลการวิเคราะห์จากแหล่งโบราณคดีภาคกลาง (C)
     ผลการวิเคราะห์จากแหล่งโบราณคดีภาคเหนือ (N)
     ผลการวิเคราะห์จากแหล่งโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NE)

บทที่ 5 ผลการวิเคราะห์ภาชนะดินเผาด้วยวิธีสิลาวรรรณาแบบภาพรวม
     กลุ่มแหล่งโบราณคดีภาคกลาง (C) 
     กลุ่มแหล่งโบราณคดีภาคเหนือ (N)
     กลุ่มแหล่งโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NE)

บทที่ 6 สังเคราะห์ข้อมูล
     เทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดี
     การตีความข้อมูลภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคกลาง (C) 
     การตีความข้อมูลภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคเหนือ (N)
     การตีความข้อมูลภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NE)

บทที่ 7 ดรรชนีภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดี
     เอกลักษณ์ของภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในกลุ่มวัฒนธรรมทวารวดีจากภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย
     ดรรชนีเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในสมัยทวารวดีจากภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย

บทที่ 8 ประมวลผลและสรุปผลการศึกษา
     ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนทวารวดีในด้านแหล่งผลิตและการกระจายตัวของภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทสไทย
        ความสัมพันธ์ด้านรูปแบบของภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในแต่ละภูมิภาค
        ความสัมพันธ์ด้านหน้าที่การใช้งานของภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในแต่ละภูมิภาค
        ความสัมพันธ์ด้านแหล่งผลิตภาชนะดินเผาของชุมชนทวารวดีระหว่างภูมิภาคเดียวกันและชุมชนทวารวดีในภูมิภาคอื่นโดยใช้ข้อมูลด้านศิลาวรรณวรรณา
     สรุปผลการศึกษา
     ข้อเสนอแนะ

บรรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร และฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thai Digital Collection)

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ประเทศไทย วิธีศิลาวรรณา ทวารวดี ภาชนะดินเผา หม้อมีสัน petrographic analysis ดรรชนีภาชนะดินเผา ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาชนะดินเผาแบบมีสัน ส่วนขอบปากต่อไปจนถึงไหล่หรือสันของภาชนะ การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง carinated pot การทำสไลด์แผ่นบาง การศึกษาภาชนะดินเผาเชิงลึก

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ทวารวดี

จำนวนผู้เข้าชม

210

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

3 ม.ค. 2567

ศิลาวรรณนากับการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี

  • ศิลาวรรณนากับการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี
  • ผู้เขียน
    ดวงกมล อัศวมาศ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    ศิลาวรรณนากับการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาสมัยทวารวดี

    มหาวิทยาลัย
    มหาวิทยาลัยศิลปากร

    คณะ
    บัณฑิตวิทยาลัย

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาเอก

    ปี
    2553 (2010)

    จำนวนหน้า
    955

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย
    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
    กิตติกรรมประกาศ
    สารบัญตาราง
    สารบัญแผนภูมิ

    บทที่ 1 บทนำ
         ความเป้นมาและความสำคัญของปัญหา
         ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
         สมมติฐานของการศึกษา
         ขอบเขตของการศึกษา
         วิธีการและเกณฑ์เลือกตัวอย่าง
         ขั้นตอนการศึกษา
         วิธีการศึกษา
         ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
         แหล่งข้อมูล
         อุปกรณ์ที่ใช้ค้นคว้า
         ข้อตกลงเบื้องต้น
         คำศัพท์เฉพาะ

    บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
         คุณประโยชน์ของการศึกษาภาชนะดินเผาต่องานโบราณคดี
         แนวทางการศึกษาภาชนดินเผาทางโบราณคดี
         งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาภาชนะดินเผาด้วยวิธีศิลาวรรณา
         ภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดีในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
         ภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในสมัยทวารวดี
         ภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

    บทที่ 3 ภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันจากแหล่งโบรารคดีในวัฒนธรรมทวารวดี
         ขั้นตอนการศึกษาภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสัน
         ข้อมูลแหล่งโบราณคดีและตัวอย่างภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสัน
         ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์ด้วยวิธีศิลาวรรณา

    บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ภาชนะดินเผาด้วยวิธีสิลาวรรรณาแบบรายชิ้น
         ผลการวิเคราะห์จากแหล่งโบราณคดีภาคกลาง (C)
         ผลการวิเคราะห์จากแหล่งโบราณคดีภาคเหนือ (N)
         ผลการวิเคราะห์จากแหล่งโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NE)

    บทที่ 5 ผลการวิเคราะห์ภาชนะดินเผาด้วยวิธีสิลาวรรรณาแบบภาพรวม
         กลุ่มแหล่งโบราณคดีภาคกลาง (C) 
         กลุ่มแหล่งโบราณคดีภาคเหนือ (N)
         กลุ่มแหล่งโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NE)

    บทที่ 6 สังเคราะห์ข้อมูล
         เทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดี
         การตีความข้อมูลภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคกลาง (C) 
         การตีความข้อมูลภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคเหนือ (N)
         การตีความข้อมูลภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NE)

    บทที่ 7 ดรรชนีภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันสมัยทวารวดี
         เอกลักษณ์ของภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในกลุ่มวัฒนธรรมทวารวดีจากภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย
         ดรรชนีเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในสมัยทวารวดีจากภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย

    บทที่ 8 ประมวลผลและสรุปผลการศึกษา
         ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนทวารวดีในด้านแหล่งผลิตและการกระจายตัวของภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทสไทย
            ความสัมพันธ์ด้านรูปแบบของภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในแต่ละภูมิภาค
            ความสัมพันธ์ด้านหน้าที่การใช้งานของภาชนะดินเผาแบบหม้อมีสันในแต่ละภูมิภาค
            ความสัมพันธ์ด้านแหล่งผลิตภาชนะดินเผาของชุมชนทวารวดีระหว่างภูมิภาคเดียวกันและชุมชนทวารวดีในภูมิภาคอื่นโดยใช้ข้อมูลด้านศิลาวรรณวรรณา
         สรุปผลการศึกษา
         ข้อเสนอแนะ

    บรรรณานุกรม
    ภาคผนวก
    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  •     วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผารูปแบบหม้อมีสันแบบต่าง ๆ ในสมัยทวารวดีด้วยวิธีศิลาวรรณา จำนวนทั้งสิ้น 175 ตัวอย่าง จาก 3 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคกลสง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยศึกษาถึงวัตถุดิบและส่วนผสม การขึ้นรูปภาชนะ การตกแต่งภาชนะ รวมไปถึงอุณหภูมิและการเผาของภาชนะ เพื่อนำไปจัดทำเป็นดรรชนีภาชนะดินเผาสมัยทวารดี และ 2) เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนทวารวดีที่กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย โดยการศึกษาภาชนะแบบหม้อมีสันที่มีรูปแบบและการตกแต่งแบบต่าง ๆ ว่ามีแหล่งผลิตในแต่ละท้องถิ่น และใช้กันเองภายใรชุมชนรวมทั้งบริเวณใกล้เคียง หรือมีศูนย์กลางการผลิตในแหล่งใหญ่หรือเมืองสำคัญของทวารวดี แล้วกระจายส่งไปสู่ชุมชนตามภูมิภาคต่าง ๆ ที่ห่างไกลออกไป
        ผลการศึกษาพบว่า จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงลึกของหม้อมีสันสมัยทวารวดีพบว่าเป็นภาชนะดินเผาประเภทเนื้อดิน โดยแต่ละภูมิภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แหล่งดินวัตถุดิบที่มาจากแหล่งดินภายในภูมิภาคที่แต่ละชุมชนตั้งอยู่ โดยทั้ง 3 ภูมิภาคจะมีความแตกต่างกันในด้านส่วนผสม พบว่า ภาคกลางพบหลักฐานคือ 1) กลุ่มที่เติมส่วนผสมตั้งแต่ 1-3 ชนิด ได้แก่ ทราย ทรายผสมแกลบข้าว ทรายผสมดินเชื้อ และทรายผสมดินเชื้อและแกลบข้าว และ 2) กลุ่มที่ไม่เติมส่วนผสม คือ การใช้เนื้อดินธรรมชาติ ส่วนภาคเหนือ พบหลักฐาน คือ 1) กลุ่มที่ไม่เติมส่วนผสม คือ การใช้เนื้อดินธรรมชาติ และ 2) กลุ่มที่เติมส่วนผสม คือ ทราย ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบหลักฐาน คือ 1) กลุ่มที่เติมส่วนผสม คือ แกลบข้าว ซึ่งเป็นหลักฐานส่วนผสมในเนื้อภาชนะดินเผาของภูมิภาคนี้มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์
        ทั้ง 3 ภูมิภาคนี้ พบว่ามีรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งบางรูปแบบสืบต่อมาจากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และยังพบหลักฐานการขึ้นรูปภาชนะที่คล้ายกัน 2 วิธี คือ แป้นหมุน และการใช้มืออย่างอิสระ ประกอบกับการใช้หินดุร่วม ส่วนการตกแต่งผิวภาชนะ ได้แก่ เทคนิคเดียวไปจนถึงเทคนิคผสม ได้แก่ การขัดผิว ผิวเรียบ ลายเชือกทาบ การทาน้ำดิน สีแดง การรมดำ และการเผาภาชนะเป็นแบบสุมเผากลางแจ้ง มีอุณหภูมิต่ำระหว่าง 400-500 องศาเซลเซียส นอกจากนี้จากหลักฐานองคืประกอบเชิงลึกของหม้อมีสันที่ศึกษาในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย พบว่า มีความเป็นมาตรฐานภายในภูมิภาคของตนเอง  ตั้งแต่วัตถุดิบและส่วนผสม 


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร และฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thai Digital Collection)

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    เทคโนโลยี,

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ทวารวดี

    คำสำคัญ
    ประเทศไทย วิธีศิลาวรรณา ทวารวดี ภาชนะดินเผา หม้อมีสัน petrographic analysis ดรรชนีภาชนะดินเผา ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาชนะดินเผาแบบมีสัน ส่วนขอบปากต่อไปจนถึงไหล่หรือสันของภาชนะ การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง carinated pot การทำสไลด์แผ่นบาง การศึกษาภาชนะดินเผาเชิงลึก


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 3 ม.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 210