หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

ผู้เขียน ผุสดี รอดเจริญ
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ปี 2548 (2005)
จำนวนหน้า 340
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

 

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

 

กิตติกรรมประกาศ

 

สารบัญตาราง

 

สารบัญภาพ

 

สารบัญภาพประกอบ

 

สารบัญแผนภูมิ

 

บทที่ 1 บทนำ

 - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

 - วัตถุประสงค์การศึกษา

 - ปัญหาการวิจัย

 - ขอบเขตของการศึกษา

 - ขั้นตอนของการศึกษา

 - นิยามศัพท์

 

บทที่ 2 ความหมายและประวัติของการใช้แก้ว

 - การเริ่มใช้แก้วในดินแดนต่างๆ

 - ประวัติของการใช้แก้วในดินแดนต่างๆของโลก

   - อียิปต์

   - โรมัน

   - อิสลาม

   - เปอร์เซีย

   - จีน

   - อินเดีย

   - เวียดนาม

   - อินโดนีเซีย

   - ไทย

 - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแก้ว

 - ชนิดของแก้ว

   - แก้วอ่อน หรือแก้วโซดา-ไลม์

   - แก้วคริสตัลหรือ แก้วตะกั่ว

   - แก้วบอรอซิลิเคต

 - ร่องรอยที่ปรากฏในเนื้อแก้ว

 - วัสดุที่ไม่หลอมเหลว

 - การเกิดฟองอากาศ

 - การเกิดรอยบนเนื้อแก้ว

 - รอยมลทินบนผิวแก้ว

 - เทคนิคการผลิตลูกปัด

 - การผลิตลูกปัดแบบสีเดียว

 - การผลิตลูกปัดแบบหลายสี

 - รูปทรงมาตรฐาน

 - รูปทรงพิเศษ

 - ลูกปัดที่มีลวดลายหรือมีหลายสี

 - สีของแก้ว

 - องค์ประกอบทางเคมีที่ส่งผลต่อคุณสมบัตของแก้ว

 - สรุป

 

บทที่ 3 แหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายในประเทศไทยที่พบโบราณวัตถุประเภทแก้ว

 - ภาคเหนือ

 - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

 - ภาคกลางและภาคตะวันออก

 - ภาคใต้

 - สรุป

 

บทที่ 4 โบราณวัตถุที่ทำจากแก้วในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

 - สูตรคำนวณสัดส่วนลูกปัด

 - ข้อมูลโบราณวัตถุประเภทแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ

   - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติภาคกลาง

     - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

     - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี จ.ราชบุรี

     - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเก่า จ.กาญจนบุรี

     - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติวังนารายณ์ จ.ลพบุรี

   - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

     - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี

     - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติขอนแก่น จ.ขอนแก่น

     - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง จ.อุดรธานี

     - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย จ.นครราชสีมา

   - แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว จ.ลพบุรี

   - แหล่งโบราณคดีบ้านโคกหม้อ จ.ลพบุรี

 - สรุปการวิเคราะห์ลูกปัดแก้วเบื้องต้น

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี จ.ราชบุรี

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเก่า จ.กาญจนบุรี

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติวังนารายณ์ จ.ลพบุรี

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติขอนแก่น จ.ขอนแก่น

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง จ.อุดรธานี

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย จ.นครราชสีมา

   - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นบ้านโป่งมะนาว จ.ลพบุรี

   - ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีบ้านโคกหม้อ จ.ลพบุรี

 - สรุป

 

บทที่ 5 การวิเคราะห์ตัวอย่างแก้วที่พบในประเทศไทย

 - แหล่งโบราณคดีที่นำตัวอย่างลูกปัดแก้วมาวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์

 - โบราณวัตถุประเภทแก้วที่นำมาวิเคราะห์

 - ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่าง

 - วิธีวิเคราะห์

 - หลักการทำงานทั่วไปของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด

 - ลักษณะการใช้งาน SEM

 - ธาตุองค์ประกอบหลักของแก้วที่ทำการวิเคราะห์

 - ข้อสังเกตในการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของแก้ว

 - ผลวิเคราะห์

   - แยกตามกลุ่มสี

   - แยกตามแหล่งโบราณคดี

 - ผลวิเคราะห์ชนิดของแก้ว

 - สรุป

 

บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอแนะ

 - สรุปผลกการศึกษา

 - ข้อเสนอแนะ

 

บรรณานุกรม

 

ภาคผนวก ก

 

ภาคผนวก ข 

 

ประวัติผู้วิจัย

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม แก้ว ประเทศอินเดีย ลูกปัดแก้ว วัฒนธรรมบ้านเชียง

จำนวนผู้เข้าชม

133

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

8 มี.ค. 2566

การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

  • การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
  • ผู้เขียน
    ผุสดี รอดเจริญ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา

    ปี
    2548 (2005)

    จำนวนหน้า
    340

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

     

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

     

    กิตติกรรมประกาศ

     

    สารบัญตาราง

     

    สารบัญภาพ

     

    สารบัญภาพประกอบ

     

    สารบัญแผนภูมิ

     

    บทที่ 1 บทนำ

     - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

     - วัตถุประสงค์การศึกษา

     - ปัญหาการวิจัย

     - ขอบเขตของการศึกษา

     - ขั้นตอนของการศึกษา

     - นิยามศัพท์

     

    บทที่ 2 ความหมายและประวัติของการใช้แก้ว

     - การเริ่มใช้แก้วในดินแดนต่างๆ

     - ประวัติของการใช้แก้วในดินแดนต่างๆของโลก

       - อียิปต์

       - โรมัน

       - อิสลาม

       - เปอร์เซีย

       - จีน

       - อินเดีย

       - เวียดนาม

       - อินโดนีเซีย

       - ไทย

     - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแก้ว

     - ชนิดของแก้ว

       - แก้วอ่อน หรือแก้วโซดา-ไลม์

       - แก้วคริสตัลหรือ แก้วตะกั่ว

       - แก้วบอรอซิลิเคต

     - ร่องรอยที่ปรากฏในเนื้อแก้ว

     - วัสดุที่ไม่หลอมเหลว

     - การเกิดฟองอากาศ

     - การเกิดรอยบนเนื้อแก้ว

     - รอยมลทินบนผิวแก้ว

     - เทคนิคการผลิตลูกปัด

     - การผลิตลูกปัดแบบสีเดียว

     - การผลิตลูกปัดแบบหลายสี

     - รูปทรงมาตรฐาน

     - รูปทรงพิเศษ

     - ลูกปัดที่มีลวดลายหรือมีหลายสี

     - สีของแก้ว

     - องค์ประกอบทางเคมีที่ส่งผลต่อคุณสมบัตของแก้ว

     - สรุป

     

    บทที่ 3 แหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายในประเทศไทยที่พบโบราณวัตถุประเภทแก้ว

     - ภาคเหนือ

     - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

     - ภาคกลางและภาคตะวันออก

     - ภาคใต้

     - สรุป

     

    บทที่ 4 โบราณวัตถุที่ทำจากแก้วในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

     - สูตรคำนวณสัดส่วนลูกปัด

     - ข้อมูลโบราณวัตถุประเภทแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ

       - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติภาคกลาง

         - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

         - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี จ.ราชบุรี

         - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเก่า จ.กาญจนบุรี

         - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติวังนารายณ์ จ.ลพบุรี

       - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

         - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี

         - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติขอนแก่น จ.ขอนแก่น

         - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง จ.อุดรธานี

         - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย จ.นครราชสีมา

       - แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว จ.ลพบุรี

       - แหล่งโบราณคดีบ้านโคกหม้อ จ.ลพบุรี

     - สรุปการวิเคราะห์ลูกปัดแก้วเบื้องต้น

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี จ.ราชบุรี

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเก่า จ.กาญจนบุรี

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติวังนารายณ์ จ.ลพบุรี

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติขอนแก่น จ.ขอนแก่น

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง จ.อุดรธานี

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย จ.นครราชสีมา

       - ลูกปัดแก้วจากพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นบ้านโป่งมะนาว จ.ลพบุรี

       - ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีบ้านโคกหม้อ จ.ลพบุรี

     - สรุป

     

    บทที่ 5 การวิเคราะห์ตัวอย่างแก้วที่พบในประเทศไทย

     - แหล่งโบราณคดีที่นำตัวอย่างลูกปัดแก้วมาวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์

     - โบราณวัตถุประเภทแก้วที่นำมาวิเคราะห์

     - ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่าง

     - วิธีวิเคราะห์

     - หลักการทำงานทั่วไปของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด

     - ลักษณะการใช้งาน SEM

     - ธาตุองค์ประกอบหลักของแก้วที่ทำการวิเคราะห์

     - ข้อสังเกตในการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของแก้ว

     - ผลวิเคราะห์

       - แยกตามกลุ่มสี

       - แยกตามแหล่งโบราณคดี

     - ผลวิเคราะห์ชนิดของแก้ว

     - สรุป

     

    บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอแนะ

     - สรุปผลกการศึกษา

     - ข้อเสนอแนะ

     

    บรรณานุกรม

     

    ภาคผนวก ก

     

    ภาคผนวก ข 

     

    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  • การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประเภทของวัตถุที่ทำจากแก้วในประเทศไทยสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ว่ามีแบบใดบ้าง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระหว่างแหล่งโบราณคดีในแต่ละพื้นที่ศึกษา โดยการศึกษาในครั้งนี้ได้นำตัวอย่างของลูกปัดแก้วไปศึกษาธาตุประกอบทางเคมีด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระหว่างแหล่งโบราณคดีทั้งในประเทศและนอกประเทศอีกด้วย

     

    ผลการศึกษาพบว่าสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในภาคกลางของประเทศไทยมีโบราณวัตถุที่ทำจากแก้วในรูปแบบของลูกปัด ซึ่งนิยมลูกปัดทรงกลมมาุกที่สุด ในขณะที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นิยมลูกปัดทรงเกือบเป็นแผ่นแบบมากที่สุด โดยทั้งสองภาคพบลูกปัดหลากสีได้แก่ สีน้ำเงิน สีเขียว สีแดง สีส้ม และสีเหลือง

     

    นอกจากนี้สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยังพบรูปแบบของลูกปัดที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะวัฒนธรรมบ้านเชียง นั่นคือลูกปัดทรง Truncated Bicone ขนาดใหญ่ และลูกปัดทรงกระบอกยาวคล้ายหลอด ซึ่งทั้ง 2 แบบ พบเฉพาะสีน้ำเงิน และสีเขียว

     

    การศึกษาเปรียบเทียบธาตุประกอบทางเคมีระหว่างแหล่งโบราณคดี พบว่าแหล่งโบราณคดีในประเทศไทยทั้งภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความสัมพันธ์กับแหล่งโบราณคดีในประเทศอินเดีย และแหล่งโบราณคดีในประเทศเวียดนาม


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    เครื่องประดับ, เทคโนโลยี,

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ
    ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม แก้ว ประเทศอินเดีย ลูกปัดแก้ว วัฒนธรรมบ้านเชียง


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 8 มี.ค. 2566
    จำนวนผู้เข้าชม : 133