หน้าแรก บทความ The Sungai Batu Archaeological Complex: Re-assessing the Emergence of Ancient Kedah

The Sungai Batu Archaeological Complex: Re-assessing the Emergence of Ancient Kedah

The Sungai Batu Archaeological Complex: Re-assessing the Emergence of Ancient Kedah

ชื่อผู้แต่ง Nasha Rodziadi Khaw, Liang Jun Gooi, Mohd Mokhtar Saidin, and Naizatul Akma Mohd Mokhtar
วารสาร/นิตยสาร Kajian Malaysia
เดือน January
ปีที่ 39
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 117-152
ภาษา อังกฤษ
หัวเรื่อง แหล่งอุตสาหกรรม, เมืองท่า
หมายเหตุ Kajian Malaysia

เนื้อหาโดยย่อ

บทความว่าด้วยความสำคัญของแหล่งโบราณคดีสุไหงบาตู (Sungai Batu) ที่หุบเขาบูจัง รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย โดยพบว่ามีการผลิตเหล็กในระดับอุตสาหกรรมตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 2 เรื่อยมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 โดยผลิตจำนวนมากขึ้นตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 เป็นต้นไป การผลิตเหล็กนี้ใช้เทคนิคแบบ Bloomery  method ซึ่งเชื่อว่ามาจากอินเดีย แต่ก็พบว่ามีความสัมพันธ์กับเมืองต่างๆ ที่พบในไทยและพม่า จึงอาจมีความเป็นไปได้ว่ามีการพัฒนาความรู้พวกนี้จากคนในท้องถิ่นประกอบกันด้วย  

 

หลักฐานสำคัญ

 เจดีย์รุ่นเก่า กำแพงกันคลื่น เขื่อน ท่าเรือทำจากอิฐ ลูกปัดแก้ว และลูกปัดคาร์เนียน

ห้องสมุดแนะนำ

Research Gate

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

แหล่งอุตสาหกรรม เหล็ก เขาสามแก้ว เขาเสก ภูเขาทอง อินเดีย

ยุคสมัย

ศรีวิชัย เคดาห์ยุคโบราณ สุวรรณทวีป

จำนวนผู้เข้าชม

217

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

10 ธ.ค. 2565

The Sungai Batu Archaeological Complex: Re-assessing the Emergence of Ancient Kedah

  • The Sungai Batu Archaeological Complex: Re-assessing the Emergence of Ancient Kedah
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    Nasha Rodziadi Khaw, Liang Jun Gooi, Mohd Mokhtar Saidin, and Naizatul Akma Mohd Mokhtar

    ชื่อบทความ :
    The Sungai Batu Archaeological Complex: Re-assessing the Emergence of Ancient Kedah

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    Kajian Malaysia

    เดือน
    เดือน :
    January

    ปีที่ :
    39

    ฉบับที่ :
    2

    หน้าที่ :
    117-152

    ภาษา :
    อังกฤษ

    หัวเรื่อง :
    แหล่งอุตสาหกรรม, เมืองท่า

    หมายเหตุ :
    Kajian Malaysia

    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความว่าด้วยความสำคัญของแหล่งโบราณคดีสุไหงบาตู (Sungai Batu) ที่หุบเขาบูจัง รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย โดยพบว่ามีการผลิตเหล็กในระดับอุตสาหกรรมตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 2 เรื่อยมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 โดยผลิตจำนวนมากขึ้นตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 เป็นต้นไป การผลิตเหล็กนี้ใช้เทคนิคแบบ Bloomery  method ซึ่งเชื่อว่ามาจากอินเดีย แต่ก็พบว่ามีความสัมพันธ์กับเมืองต่างๆ ที่พบในไทยและพม่า จึงอาจมีความเป็นไปได้ว่ามีการพัฒนาความรู้พวกนี้จากคนในท้องถิ่นประกอบกันด้วย  

     

    หลักฐานสำคัญ

     เจดีย์รุ่นเก่า กำแพงกันคลื่น เขื่อน ท่าเรือทำจากอิฐ ลูกปัดแก้ว และลูกปัดคาร์เนียน


    ห้องสมุดแนะนำ :
    Research Gate

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ศรีวิชัย เคดาห์ยุคโบราณ สุวรรณทวีป

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    แหล่งอุตสาหกรรม เหล็ก เขาสามแก้ว เขาเสก ภูเขาทอง อินเดีย

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 10 ธ.ค. 2565
    จำนวนผู้เข้าชม : 217