หน้าแรก บทความ แบบแผนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน จังหวัดสกลนคร

แบบแผนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน จังหวัดสกลนคร

แบบแผนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน จังหวัดสกลนคร

ชื่อผู้แต่ง กรกฎ บุญลพ
วารสาร/นิตยสาร ดำรงวิชาการ
เดือน มกราคม
ปีที่ 1
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 77 - 100
ภาษา ภาษาไทย
หัวเรื่อง -

เนื้อหาโดยย่อ

      ประเพณีฝังศพและแบบแผนพิธีกรรมเป็นปรากฎการณ์ทางวัฒนธรรมอันเป็นสากลที่มีอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของโลก โดยปรากฎหลักฐานมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในช่วงยุคหินเก่า สำหรับในประเทศไทยได้พบหลักฐานที่แสดงให้เห็นแบบแผนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ช่วงยุคหินเก่าตอนปลาย

      การขุดค้นทางโบราณคดีตามแหล่งโบราณคดีประเภทแหล่งฝังศพได้พบหลักฐานที่บ่งชี้ถึงธรรมเนียมปฎิบัติเกี่ยวกับพิธีฝังศพในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงคลี่คลายในแบบ แผนและคตินิยมในพิธีกรรมมาโดยลำดับ

       แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เป็นแหล่งโบราณคดีอีกแห่งหนึ่งที่ได้รับการขุดค้นและปรากฎหลักฐานในบริบทของการฝังศพอย่างหนาแน่น ดังนั้นผู้เขียนจึงได้ศึกษาพิธี กรรมการฝังศพแสดงให้เห็นธรรมเนียมปฎิบัติเกี่ยวกับความตาย ที่เกิดขึ้นในชุมชนโบราณแห่งนี้เมื่อครั้งก่อนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายอันเป็นช่วงต่อเนื่องระหว่างช่วงยุคก่อนยุคโลหะ (สมัยหินใหม่ตอนปลาย) ถึงยุคโลหะ (สมัยสำริด-เหล็ก) หรือช่วงระยะเวลาราว 4,500 - 1,800 ปีมาแล้วโดยประมาณ

หลักฐานสำคัญ

หลุมฝังศพ

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

การฝังศพ แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน

ยุคสมัย

ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ยุคโลหะ

จำนวนผู้เข้าชม

88

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

22 พ.ย. 2565

แบบแผนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน จังหวัดสกลนคร

  • แบบแผนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน จังหวัดสกลนคร
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    กรกฎ บุญลพ

    ชื่อบทความ :
    แบบแผนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน จังหวัดสกลนคร

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    ดำรงวิชาการ

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม

    ปีที่ :
    1

    ฉบับที่ :
    1

    หน้าที่ :
    77 - 100

    ภาษา :
    ภาษาไทย

    หัวเรื่อง :
    -

    เนื้อหาโดยย่อ

          ประเพณีฝังศพและแบบแผนพิธีกรรมเป็นปรากฎการณ์ทางวัฒนธรรมอันเป็นสากลที่มีอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของโลก โดยปรากฎหลักฐานมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในช่วงยุคหินเก่า สำหรับในประเทศไทยได้พบหลักฐานที่แสดงให้เห็นแบบแผนพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ช่วงยุคหินเก่าตอนปลาย

          การขุดค้นทางโบราณคดีตามแหล่งโบราณคดีประเภทแหล่งฝังศพได้พบหลักฐานที่บ่งชี้ถึงธรรมเนียมปฎิบัติเกี่ยวกับพิธีฝังศพในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงคลี่คลายในแบบ แผนและคตินิยมในพิธีกรรมมาโดยลำดับ

           แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เป็นแหล่งโบราณคดีอีกแห่งหนึ่งที่ได้รับการขุดค้นและปรากฎหลักฐานในบริบทของการฝังศพอย่างหนาแน่น ดังนั้นผู้เขียนจึงได้ศึกษาพิธี กรรมการฝังศพแสดงให้เห็นธรรมเนียมปฎิบัติเกี่ยวกับความตาย ที่เกิดขึ้นในชุมชนโบราณแห่งนี้เมื่อครั้งก่อนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายอันเป็นช่วงต่อเนื่องระหว่างช่วงยุคก่อนยุคโลหะ (สมัยหินใหม่ตอนปลาย) ถึงยุคโลหะ (สมัยสำริด-เหล็ก) หรือช่วงระยะเวลาราว 4,500 - 1,800 ปีมาแล้วโดยประมาณ

    หลักฐานสำคัญ

    หลุมฝังศพ


    ห้องสมุดแนะนำ :
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ยุคโลหะ

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    การฝังศพ แหล่งโบราณคดีบ้านโคกคอน

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 22 พ.ย. 2565
    จำนวนผู้เข้าชม : 88