หน้าแรก บทความ ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดี: ความสัมพันธ์ทางการค้า ระหว่างภาคใต้ของไทยกับต่างชาติ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดี: ความสัมพันธ์ทางการค้า ระหว่างภาคใต้ของไทยกับต่างชาติ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดี: ความสัมพันธ์ทางการค้า ระหว่างภาคใต้ของไทยกับต่างชาติ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

ชื่อผู้แต่ง นภัคมน ทองเฝือ
วารสาร/นิตยสาร ดำรงวิชาการ
เดือน มกราคม - เมษายน
ปี 2566
ปีที่ 22
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 37 - 62
ภาษา ไทย

เนื้อหาโดยย่อ

ลูกปัดแก้วเป็นหลักฐานโบราณคดีประเภทหนึ่งที่พบเป็นจำนวนมากจากการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีในประเทศไทย บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพและองค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้วที่พบในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทยมีอายุในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 โดยการใช้ตัวอย่างลูกปัดแก้ววิเคราะห์ด้วยเครื่องเอ็กซเรย์ฟลูออเรสเซนต์แบบกระจายความยาวคลื่น Wavelength Dispersive X-ray Fluorescence Spectrometer (WD-XRF) เพื่อนำมาอธิบายความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทยกับต่างชาติ ผลการวิเคราะห์พบว่าลูกปัดแก้วที่พบในภาคใต้ของไทยมีรูปแบบและองค์ประกอบทางเคมีที่บ่งชี้ว่ามีแหล่งผลิตสำคัญอยู่ในอินเดีย จีน และตะวันออกกลาง และยังพบลูกปัดแก้วลักษณะเดียวกันนี้ในแหล่งโบราณคดีหลายแห่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันแสดงให้เห็นถึงการติดต่อสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างผู้คนในภาคใต้ของไทยกับโพ้นทะเล จากทางตะวันตกคืออินเดีย ตะวันออกกลาง และตะวันออกคือจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วงระหว่างพุทธศตวรรษที่ 5 ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 ซึ่งสอดคล้องกับโบราณวัตถุและหลักฐานทางโบราณคดีอื่น ๆ ที่มาจากภูมิภาคเหล่านี้ ซึ่งพบในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทยในช่วงเวลาดังกล่าว

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ลูกปัด เส้นทางการค้า การค้า ภาคใต้ ลูกปัดแก้ว

จำนวนผู้เข้าชม

11

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

26 มิ.ย. 2567

ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดี: ความสัมพันธ์ทางการค้า ระหว่างภาคใต้ของไทยกับต่างชาติ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

  • ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดี: ความสัมพันธ์ทางการค้า ระหว่างภาคใต้ของไทยกับต่างชาติ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    นภัคมน ทองเฝือ

    ชื่อบทความ :
    ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดี: ความสัมพันธ์ทางการค้า ระหว่างภาคใต้ของไทยกับต่างชาติ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    ดำรงวิชาการ

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม - เมษายน

    ปี :
    2566

    ปีที่ :
    22

    ฉบับที่ :
    1

    หน้าที่ :
    37 - 62

    ภาษา :
    ไทย

    เนื้อหาโดยย่อ

    ลูกปัดแก้วเป็นหลักฐานโบราณคดีประเภทหนึ่งที่พบเป็นจำนวนมากจากการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีในประเทศไทย บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพและองค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้วที่พบในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทยมีอายุในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 โดยการใช้ตัวอย่างลูกปัดแก้ววิเคราะห์ด้วยเครื่องเอ็กซเรย์ฟลูออเรสเซนต์แบบกระจายความยาวคลื่น Wavelength Dispersive X-ray Fluorescence Spectrometer (WD-XRF) เพื่อนำมาอธิบายความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทยกับต่างชาติ ผลการวิเคราะห์พบว่าลูกปัดแก้วที่พบในภาคใต้ของไทยมีรูปแบบและองค์ประกอบทางเคมีที่บ่งชี้ว่ามีแหล่งผลิตสำคัญอยู่ในอินเดีย จีน และตะวันออกกลาง และยังพบลูกปัดแก้วลักษณะเดียวกันนี้ในแหล่งโบราณคดีหลายแห่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันแสดงให้เห็นถึงการติดต่อสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างผู้คนในภาคใต้ของไทยกับโพ้นทะเล จากทางตะวันตกคืออินเดีย ตะวันออกกลาง และตะวันออกคือจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วงระหว่างพุทธศตวรรษที่ 5 ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 ซึ่งสอดคล้องกับโบราณวัตถุและหลักฐานทางโบราณคดีอื่น ๆ ที่มาจากภูมิภาคเหล่านี้ ซึ่งพบในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทยในช่วงเวลาดังกล่าว

    หลักฐานสำคัญ

    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    ลูกปัด เส้นทางการค้า การค้า ภาคใต้ ลูกปัดแก้ว

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 26 มิ.ย. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 11