หน้าแรก บทความ Maritime Trade between Thailand and Bengal.

Maritime Trade between Thailand and Bengal.

Maritime Trade between Thailand and Bengal.

ชื่อผู้แต่ง Shahnaj Husne JAHAN
วารสาร/นิตยสาร วารสารวิจิตรสิลป์
เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม
ปี 2555
ปีที่ 3
ฉบับที่ 3
หน้าที่ 205 - 228
ภาษา อังกฤษ

เนื้อหาโดยย่อ

บทความนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงภาพการค้าทางทะเลระหว่างไทยและเบงกอล (ปัจจุบัน คือ ประเทศบังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดีย) โดยการศึกษาค้นคว้าจากวัตถุทางวัฒนธรรมนับตั้งแต่ 4 ศตวรรษก่อนคริสตกาลจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ซึ่งค้นพบในแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ดังกล่าวและนำมาประกอบให้เห็นภาพเครือข่ายการค้าในมหาสมุทรอินเดียระดับมหัพภาค การสำรวจและการวิเคราะห์ใคร่ครวญในงานศึกษานี้แบ่งเป็น 3 ระดับ ประการแรกคือ การแสดงภาพหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับการค้าทางทะเล เช่น ภาชนะดินเผาสีดำขัดมันแบบทางเหนือ ภาชนะดินเผาแบบมีลายเป็นวงรอบ ภาชนะดินเผาแบบมีปุ่ม ภาชนะดินเผาแบบมีรอยประทับ ลูกปัดหินกึ่งมีค่าและลูกปัดแก้ว และตราประทับที่มีอักษรพราหมี-ขโรศตี ประการที่สอง เป็นการติดตามร่องรอยพัฒนาการของเครือข่ายการค้าทางทะเลระหว่างไทยและเบงกอล และสุดท้ายประการที่สาม แสดงภาพเส้นทางการค้าดังกล่าวโดยเฉพาะเจาะจง 

หลักฐานสำคัญ

หลักฐานทางโบราณที่ค้นพบในบริเวณพื้นที่ที่ศึกษา เช่น ภาชนะต่าง ๆ 

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

การค้าทางทะเล การค้า เบงกอล การค้าสุวรรณภูมิ

ยุคสมัย

ก่อนประวัติศาสตคร์

จำนวนผู้เข้าชม

8

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

26 มิ.ย. 2567

Maritime Trade between Thailand and Bengal.

  • Maritime Trade between Thailand and Bengal.
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    Shahnaj Husne JAHAN

    ชื่อบทความ :
    Maritime Trade between Thailand and Bengal.

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารวิจิตรสิลป์

    เดือน
    เดือน :
    กรกฎาคม - ธันวาคม

    ปี :
    2555

    ปีที่ :
    3

    ฉบับที่ :
    3

    หน้าที่ :
    205 - 228

    ภาษา :
    อังกฤษ

    เนื้อหาโดยย่อ

    บทความนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงภาพการค้าทางทะเลระหว่างไทยและเบงกอล (ปัจจุบัน คือ ประเทศบังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดีย) โดยการศึกษาค้นคว้าจากวัตถุทางวัฒนธรรมนับตั้งแต่ 4 ศตวรรษก่อนคริสตกาลจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ซึ่งค้นพบในแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ดังกล่าวและนำมาประกอบให้เห็นภาพเครือข่ายการค้าในมหาสมุทรอินเดียระดับมหัพภาค การสำรวจและการวิเคราะห์ใคร่ครวญในงานศึกษานี้แบ่งเป็น 3 ระดับ ประการแรกคือ การแสดงภาพหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับการค้าทางทะเล เช่น ภาชนะดินเผาสีดำขัดมันแบบทางเหนือ ภาชนะดินเผาแบบมีลายเป็นวงรอบ ภาชนะดินเผาแบบมีปุ่ม ภาชนะดินเผาแบบมีรอยประทับ ลูกปัดหินกึ่งมีค่าและลูกปัดแก้ว และตราประทับที่มีอักษรพราหมี-ขโรศตี ประการที่สอง เป็นการติดตามร่องรอยพัฒนาการของเครือข่ายการค้าทางทะเลระหว่างไทยและเบงกอล และสุดท้ายประการที่สาม แสดงภาพเส้นทางการค้าดังกล่าวโดยเฉพาะเจาะจง 

    หลักฐานสำคัญ

    หลักฐานทางโบราณที่ค้นพบในบริเวณพื้นที่ที่ศึกษา เช่น ภาชนะต่าง ๆ 


    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    ก่อนประวัติศาสตคร์

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    การค้าทางทะเล การค้า เบงกอล การค้าสุวรรณภูมิ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 26 มิ.ย. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 8