หน้าแรก บทความ พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม

พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม

พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม

ชื่อผู้แต่ง พระราชรัตนาลงกรณ์
วารสาร/นิตยสาร วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์
เดือน กันยายน - ธันวาคม
ปี 2562
ปีที่ 7
ฉบับที่ 3
ภาษา ไทย
หัวเรื่อง พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม

เนื้อหาโดยย่อ

พุทธศิลปกรรมถือว่าเกิดมาจากศรัทธาของชาวพุทธที่มุ่งสร้างสัญลักษณ์ที่บ่งถึงหลักธรรมและความเชื่อของตนที่มีต่อพระพุทธศาสนา พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก เป็นพุทธศิลปกรรมที่เกิดมาจากพระพุทธศาสนาเนื่องจากพระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้ามาในเมืองปะโคเวียงคุกตั้งแต่สมัยทวารวดี ขอม สุโขทัย อยุธยา ล้านนาและล้านช้าง ท าให้มีการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรมทั้งพระพุทธรูปและเจดีย์หรือพระธาตุเป็นจ านวนมาก โดยการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรมเมืองปะโค เวียงคุกนั้นถือว่าได้สร้างสรรค์มาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น และมุ่งถึงการสร้างสรรค์เพื่อสื่อความหมายถึงหลักคำสอนพระพุทธศาสนาเช่น หลักค าสอนเรื่องบารมี 10เรื่องนิพพาน เรื่องอนุสติ 10เรื่องไตรลักษณ์ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะใช้เป็นสื่อในการศึกษาหรือสอนธรรมแก่ชาวพุทธโดยทั่วๆไป นอกจากนั้นการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรมเมืองปะโค เวียงคุกยังถือว่ามีคุณค่าในเชิงของการเป็นหนึ่งในความเป็นศิลปกรรมไทยเพราะมีความเชื่อมโยงกับศิลปกรรมหลายยุคหลยาสมัย

หลักฐานสำคัญ

เมื่อพิจารณาจากหลักฐานทางโบราณคดีนักวิชาการไทยก็เชื่อมั่นว่าพระพุทธศาสนากระแสแรกที่เข้ามาสู่สุวรรณภูมิเป็นครั้งแรกก็คือสมัยการสังคายนานี้และค าว่าสุวรรณภูมิก็คือบริเวณลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยา คือจังหวัดนครปฐม ราชบุรี เป็นต้น และหากพิจารณาถึงภาพรวมของการเข้ามาของพระพุทธศาสนาเถรวาทนับตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นต้นมาก็จะพบว่า เมืองไทยนั้นได้รับกระแสพระพุทธศาสนาที่แตกต่างกัน โดยนักวิชาการไทยได้ระบุถึงกระแสการเข้ามาของพระพุทธศาสนาจากอินเดียสู่ไทยนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 4ยุค คือ (1) ยุคเถรวาทแบบสมัยอโศก(2) ยุคมหายาน เริ่มจากการส่งสมณฑูตออกประกาศศาสนาในอาเซียกลางหลังการสังคายนาครั้งที่ 4ของฝ่ายมหายาน ซึ่งอุปถัมภ์โดยพระเจ้ากนิษกะมหาราช เป็นเหตุให้พระพุทธศาสนาเข้าไปเผยแพร่ในประเทศจีน พระเจ้ากรุงจีนคือ มิ่งตี่ ได้ส่งฑูตสันถวไมตรีมายังขุนหลวงเม้า กษัตริย์ไทยผู้ครองอาณาจักรอ้ายลาว คณะฑูตได้น าพระพุทธศาสนาเข้ามาด้วยท าให้หัวเมืองทั้ง 77มีราษฎร 51,890ครอบครัว หันมานับถือพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก5(3)ยุคเถรวาทแบบพุกาม พ.ศ.1600พระเจ้าอนุรุทธมหาราช หรืออโนรธามังช่อกษัตริย์พุกามเรืองอ านาจขึ้นทรงปราบรามัญรวมพม่าเข้าได้ทั้งหมดแล้วแผ่อาณาเขตเข้ามาถึงอาณาจักรล้านนา ล้านช้าง จรดลพบุรี และทวารวดี พระเจ้าอนุรุทธ ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท เมื่ออาณาจักรพุกามแผ่เข้ามาครอบง าคนไทยในถิ่นนี้ ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนาสืบๆ มาอยู่แล้วก็รับนับถือพระพุทธศาสนาแบบพุกามจนเจริญแพร่หลายทั่วไปในฝ่ายเหนือ

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

พุทธศาสนา พุทธศิลปะ เวียงคุก

ยุคสมัย

โบราณ

จำนวนผู้เข้าชม

58

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

21 ก.พ. 2567

พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม

  • พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    พระราชรัตนาลงกรณ์

    ชื่อบทความ :
    พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์

    เดือน
    เดือน :
    กันยายน - ธันวาคม

    ปี :
    2562

    ปีที่ :
    7

    ฉบับที่ :
    3

    ภาษา :
    ไทย

    หัวเรื่อง :
    พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก : ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม

    เนื้อหาโดยย่อ

    พุทธศิลปกรรมถือว่าเกิดมาจากศรัทธาของชาวพุทธที่มุ่งสร้างสัญลักษณ์ที่บ่งถึงหลักธรรมและความเชื่อของตนที่มีต่อพระพุทธศาสนา พุทธศิลปะเมืองปะโค เวียงคุก เป็นพุทธศิลปกรรมที่เกิดมาจากพระพุทธศาสนาเนื่องจากพระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้ามาในเมืองปะโคเวียงคุกตั้งแต่สมัยทวารวดี ขอม สุโขทัย อยุธยา ล้านนาและล้านช้าง ท าให้มีการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรมทั้งพระพุทธรูปและเจดีย์หรือพระธาตุเป็นจ านวนมาก โดยการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรมเมืองปะโค เวียงคุกนั้นถือว่าได้สร้างสรรค์มาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น และมุ่งถึงการสร้างสรรค์เพื่อสื่อความหมายถึงหลักคำสอนพระพุทธศาสนาเช่น หลักค าสอนเรื่องบารมี 10เรื่องนิพพาน เรื่องอนุสติ 10เรื่องไตรลักษณ์ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะใช้เป็นสื่อในการศึกษาหรือสอนธรรมแก่ชาวพุทธโดยทั่วๆไป นอกจากนั้นการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรมเมืองปะโค เวียงคุกยังถือว่ามีคุณค่าในเชิงของการเป็นหนึ่งในความเป็นศิลปกรรมไทยเพราะมีความเชื่อมโยงกับศิลปกรรมหลายยุคหลยาสมัย

    หลักฐานสำคัญ

    เมื่อพิจารณาจากหลักฐานทางโบราณคดีนักวิชาการไทยก็เชื่อมั่นว่าพระพุทธศาสนากระแสแรกที่เข้ามาสู่สุวรรณภูมิเป็นครั้งแรกก็คือสมัยการสังคายนานี้และค าว่าสุวรรณภูมิก็คือบริเวณลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยา คือจังหวัดนครปฐม ราชบุรี เป็นต้น และหากพิจารณาถึงภาพรวมของการเข้ามาของพระพุทธศาสนาเถรวาทนับตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นต้นมาก็จะพบว่า เมืองไทยนั้นได้รับกระแสพระพุทธศาสนาที่แตกต่างกัน โดยนักวิชาการไทยได้ระบุถึงกระแสการเข้ามาของพระพุทธศาสนาจากอินเดียสู่ไทยนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 4ยุค คือ (1) ยุคเถรวาทแบบสมัยอโศก(2) ยุคมหายาน เริ่มจากการส่งสมณฑูตออกประกาศศาสนาในอาเซียกลางหลังการสังคายนาครั้งที่ 4ของฝ่ายมหายาน ซึ่งอุปถัมภ์โดยพระเจ้ากนิษกะมหาราช เป็นเหตุให้พระพุทธศาสนาเข้าไปเผยแพร่ในประเทศจีน พระเจ้ากรุงจีนคือ มิ่งตี่ ได้ส่งฑูตสันถวไมตรีมายังขุนหลวงเม้า กษัตริย์ไทยผู้ครองอาณาจักรอ้ายลาว คณะฑูตได้น าพระพุทธศาสนาเข้ามาด้วยท าให้หัวเมืองทั้ง 77มีราษฎร 51,890ครอบครัว หันมานับถือพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก5(3)ยุคเถรวาทแบบพุกาม พ.ศ.1600พระเจ้าอนุรุทธมหาราช หรืออโนรธามังช่อกษัตริย์พุกามเรืองอ านาจขึ้นทรงปราบรามัญรวมพม่าเข้าได้ทั้งหมดแล้วแผ่อาณาเขตเข้ามาถึงอาณาจักรล้านนา ล้านช้าง จรดลพบุรี และทวารวดี พระเจ้าอนุรุทธ ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท เมื่ออาณาจักรพุกามแผ่เข้ามาครอบง าคนไทยในถิ่นนี้ ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนาสืบๆ มาอยู่แล้วก็รับนับถือพระพุทธศาสนาแบบพุกามจนเจริญแพร่หลายทั่วไปในฝ่ายเหนือ


    ห้องสมุดแนะนำ :

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    โบราณ

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ
    พุทธศาสนา พุทธศิลปะ เวียงคุก

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 21 ก.พ. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 58